กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำเจลสมุนไพรต้านภัยโควิด -19 ปี2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน บ้านตำเสา

1.นางสาวอรุณีเจ๊ะโซ๊ะ
2.นางสาวสุดารัตน์มะนอ
3.นางสาวรูซีลา เอี่ยมใย
4.นางสาวแมะยาสมาแอ
5.นางสาวสุดา ราหู

ศาลาเอนกประสงค์บ้านผ่านศึก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไวรัสโคโรน่า 2019

 

90.00

จากสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการ
ที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะ
และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชน
ในพื้นที่ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงหน้ากากอนามัย และการล้างมือเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเห็นควรให้
มีการบูรณาการความร่วมมือจัดให้มีการดำเนินการให้ความรู้คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับ
ประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ชุมชน และบริการสาธารณะต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ
ของรพ.สต.บ้านตำเสา

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการด าเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสามารถให้การดูแลแนะน าประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและ มีประสิทธิภาพ 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเองเพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)

สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า ในพื้นที่ชุมชนได้ ร้อยละ 100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำเจลสมุนไพรต้านภัยโควิด -19 ปี2564

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำเจลสมุนไพรต้านภัยโควิด -19 ปี2564
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. และ แกนนำในชุมชนในเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า - 19
  • ป้ายประชาสัมพันธ์ตามโครงการจำนวน 1 ป้ายป้าย ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่าวัสดุในการอบรมจำนวน 100 คน × 40 เป็นเงิน4,000 บาท แฟ้มเอสารแฟ้มละ 20 บาท/คน ปากกาด้ามละ 5 บาท/คน สมุดโน็ดเล่มละ 15 บาท/คน
    -ค่าอาหารกลางวัน1 มื้อๆละ 50 บาทจำนวน100 คน เป็นเงิน5,000บาท
    • ค่าอาหารว่าง 1มื้อๆละ25บาท จำนวน100 คน เป็นเงิน 2,500 บาท
  • ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600บาท *3ชั่วโมง จำนวน1 คนเป็นเงิน1,800บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 14,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ได้เจลล้างมือที่มีส่วนประสมของสมุนไพร และไม่เป็นอันตรายแก่ผู้ใช้
  • ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำเอาสมุนไพรที่มีในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ซึ่งก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆและได้ผลิภัณฑ์ที่มีกลิ่นและสีที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14300.00

กิจกรรมที่ 2 การจัดทำเจลสมุนไพรต้านภัยโควิด -19 ปี2564

ชื่อกิจกรรม
การจัดทำเจลสมุนไพรต้านภัยโควิด -19 ปี2564
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุในการทำนวัตกรรม เป็นเงิน 5200 บาท สารเคมีส่วน ACARBOPOL 940 = 0.90 กรัม- สารเคมีส่วน BALCOHOL 95% = 135.00 กรัม และสารTRICLOSAN= 0.30 กรัม
สารเคมีส่วน C TRIETHANOLAMINE (TEA) = 2.40กรัม - ตะไคร้ - ผลมะกรูด - ใบเตย - ว่านหางจระเข้ - ชาม - หม้อต้ม - กะละมัง - ไม้พาย - สปริงตีไข่
-บรรจุภัณฑ์ 100 * 15 =1500 - ค่าอาหารว่าง 1มื้อๆละ25บาท จำนวน100 คน เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600บาท *3ชั่วโมง จำนวน1 คนเป็นเงิน1,800บาท รวมเ็นเงินทั้งสิ้น9500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ได้เจลล้างมือที่มีส่วนประสมของสมุนไพร และไม่เป็นอันตรายแก่ผู้ใช้
  • ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำเอาสมุนไพรที่มีในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ซึ่งก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆและได้ผลิภัณฑ์ที่มีกลิ่นและสีที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.พัฒนาทักษะกระบวนคิดอย่างเป็นระบบและทำให้เกิดความสามัคคีใหม่ในหมู่คณะ
2.ริเริ่มสร้างสรรค์การนำเอาสมุนไพรบริเวณรอบบ้านมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์
3.ใช้เวลาว่างที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์


>