กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไผ่โทน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 7,8

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไผ่โทน

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7,หมู่ที่8

นางแก้วใจ ศรีเกษ,นางบัวไหล กันตี,นายสมบูรณ์ ปิติจะ และคณะ

บ้านห้วยเอียด และบ้านทุ่งคัวะ หมู่ที่ 7และหมู่ที่ 8 ตำบลไผ่โทน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขกับชุมชนไทยมาโดยตลอด เพราะไข้เลือดออกเป็นดรคติดต่อที่ร้ายแรง สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลรวมถึงสร้างความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ/งบประมาณของประเทศ เป็นจำนวนมาก ที่ผ่านมาประเทศไทย พบผู้ป่วยในปี 2562 จำนวน 116,462 ราย คิดเป็นร้อยละ 175.66 ต่อแสนประชากรและพบผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 125 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.11 ต่อแสนประชากร (ที่มา:ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) ซึ่งเป็นจำนวนผุ้ป่วยที่เพิ่มขึ้นเรื่อยมาอย่างต่อเนื่อง บ้านห้วยเอียด หมู่7,บ้านทุ่งควัะ หมู่8 ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไผ่โทน มีพื้1.ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องบ้านห้วยเอียด หมู่7,บ้านทุ่งควัะ หมู่8 ในเขตพื้นนที่ใกล้เคียงกัน เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาตลอดหลายปี โดยในปี 2562 ที่ผ่านมา บ้านห้วยเอียด หมู่7,บ้านทุ่งควัะ หมู่8 มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 130.21 ต่อประชากรแสนคน (ทั่งหมด 1 ราย : ที่มา : สารสนเทศงานระบาดวิทยาสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่) แม้จะพบผุ้ป่วยไม่มากแต่จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยที่สูงเกินค่ามาตราฐานของหลักระบาดวิทยา (เกิน 50 ต่อแสนประชากร) อีกทั้งพื้นที่หมู่บ้านใกล้เคียง พบว่ามรการระบาดของโรคไข้เลือดออก จึงถือได้ว่าพื้นที่บ้านห้วยเอียด หมู่7,บ้านทุ่งควัะ หมู่8 เป็นพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดและการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ตลอดทุกปี ปัญหาการเกิดขอโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ที่ป่านมา มักเกิดจากชุมชนขาดความตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก ขาดความเอาใจใส่ในการดูแลตนเองและสภาพแวดล้อมในบ้านเรือนของตัวตัวเอง จากที่ผ่านมาการแก้ไขปัญหาโดยให้ปัญหาโดยให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมโดยการรณรงค์ให้ชุมชนร่วมกันพัฒนาสภาพแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งส่งผลให้สามารถระงับการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ในขณะนั้น ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ชุมชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและสภาพแวดล้อมในบ้านเรื่อนของตัวเองและเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงถือเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ในการนี้ ทางกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่7,หมู่8 ตำบลไผ่โทน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อนเป็นการให้ชุมชนร่วมกัน ควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวัง การเกิดและการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงทีที่เกิดโรค ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดการระบาดในพื้นที่
2.เพื่อให้ชุมชนตะหนักและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
3.เพื่อให้ทีม SRRT ระดับหมู่บ้านมีความรู้ ทักษะในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1.ค่า Hl (House lndex) ของหมู่บ้านน้อยกว่าหรือเทียบเท่า 10,ค่า Cl (Container lndex) โรงเรียน/วัด/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/รพ.สต.เท่ากับ 0 ร้อยละ 100
2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรหรือไม่พบผู้ป่วยในหมู่บ้าน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายจัดเวทีประชาคมฯ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผุ้เข้าร่วมเวทีประชาคมฯ จำนวน 100 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป้นเงิน 2,500 บาท 3.ค่าถ่ายเอกสาร/วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการจัดเวทีประชาคมฯ เป็นเงิน 500 บาท 4.ค่าป้ายรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 3 ป้าย เป็นเงิน 1,500 บาท 5.ค่าอาหารว่างและเครื่องดิ่มผุ้เข้าร่วมรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 100 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท *งบประมาณในแต่ละกิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง 2.ทีม SRRT ระดับหมู่บ้าน สามารถดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างรวดเร็วทำให้ไม่พบผุ้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน (Generation ที่ 2)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนือง
2.ทีม SRRT ระดับหมู่หมู่บ้าน สามารถดำเนินการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน (Generation ที่ 2)


>