กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการร่วมใจลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา เพื่อชีวีมีสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านห้วยพลู

นางผดุงศรีอินประเสริฐ
นายสวาท แสงสว่าง
นางจันทราเข็มทอง
นางสาวนิลเนตร กันมะณี
นางทวี นพตากูล

หมู่ 4 , 6 , 10 , 11 , 12 และหมู่ 14

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา , แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (ร้าน)

 

25.00
2 งบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(บาท)

 

30,000.00
3 จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงาน เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ (คน)

 

200.00
4 งบประมาณที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

30,000.00
5 จำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (มาตรการ)

 

200.00
6 งบประมาณโดยรวมที่ใช้ในการควบคุมปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(บาท)

 

40,000.00
7 กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน(คน)

 

200.00
8 จำนวนกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ (จำนวนกิจกรรม/นวัฒกรรม)

 

1.00
9 กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ(กิจกรรม)

 

1.00
10 จำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(กิจกรรม/นวัตกรรม)

 

1.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

200.00 200.00
2 เพื่อเพิ่มงบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้นเป็น (บาท)

30000.00 30000.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

25.00 28.00
4 เพื่อเพิ่มกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ

จำนวนกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนกิจกรรม/นวัฒกรรม)

1.00 1.00
5 เพื่อเพิ่มงบประมาณที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งบประมาณที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้นเป็น(บาท)

30000.00 30000.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

รูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น (กิจกรรม/นวัตกรรม)

1.00 1.00
7 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

มาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น(มาตรการ)

200.00 200.00
8 เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

200.00 200.00
9 เพื่อเพิ่มงบประมาณโดยรวมที่ใช้ในการควบคุมปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งบประมาณโดยรวมที่ใช้ในการควบคุมปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้นเป็น(บาท)

40000.00 40000.00
10 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ

กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)

1.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/04/2021

กำหนดเสร็จ 11/04/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กับกลุ่มเยาวชน กลุ่มแกนนำ และประชาชน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้กับกลุ่มเยาวชน กลุ่มแกนนำ และประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำสื่อให้ความรู้กับกลุ่มเยาวชน กลุ่มแกนนำและประชนชนทั่วไป
  2. จัดเวทีให้ความรู้กับกลุ่มประชาชน เยาวชน ในชุมชน จำนวน 7 หมู่บ้าน วันที่ 10 – 11  เมษายน 2564  จำนวน 2 วันๆ ละ 50  คน เรื่องโทษของบุหรี่ สุรา ต่อ ร่างกายรวมทั้งข้อกฎหมายที่ต้องปฏิบัติตาม
  3. จัดทำแผ่นป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และร้านค้าไม่จำหน่ายสุรา ตามหลักเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนด และมอบให้ร้านค้า (เฉพาะร้านค้าที่ยังไม่มีป้าย ไปติดประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชน ทราบต่อไป
  4. แจกเอกสารแผ่นพับให้ความรู้เรื่องโทษยาบุหรี่ สุรา ให้ผู้เข้ารับการอบรมนำไปเผยแพร่ในชุมชนต่อไป
  5. สรุปผลเสนอผู้บริหาร งบประมาณ
  6. ค่ากระเป๋าสื่อชุดความรู้  จำนวน  100 ใบๆละ 140 บาท  เป็นเงิน  14,000 บาท 2.  ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน  100 ตนๆละ  80 บาท  เป็นเงิน  8,000 บาท
  7. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 100 คนๆละ  2 มื้อๆละ 30 บาท  เป็นเงิน  6,000 บาท
  8. ค่าวัสดุในการจัดอบรม  เป็นเงิน 2,000บาท รวมเป็นเงิน  30,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 เมษายน 2564 ถึง 11 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้  ความเข้าใจ  และตระหนักถึงโทษภัยของ บุหรี่ และสุรา  และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ลด  เลิกสูบบุหรี่
  2. มีภาคเคือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง  และมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการลด ละเลิกบุหรี่
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโทษภัยของ บุหรี่ และสุราและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเลิกสูบบุหรี่
2. มีภาคเคือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการลด ละเลิกบุหรี่


>