กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

แปรงฟันสานฝัน เพื่อเด็กลาโละฟันสวย ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ

โรงเรียนประถมศึกษาในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ตำบลลาโละ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ

 

1.00

จากการสำรวจ สังเกต สอบถาม คุณครูและเด็กนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ 6 แห่ง พบว่า เด็กนักเรียนไม่มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียนที่เป็นรูปธรรม บางโรงเรียนไม่มีสถานที่ที่ใช้ในการแปรงฟันของเด็กนักเรียน ตลอดจนไม่มีมาตรการในโรงเรียนเรื่องการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน และยังพบว่ามีการจำหน่ายไอศกรีม อาหาร ที่ส่งผลโรคฟันผุในโรงเรียน นอกจากนี้จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา ตั้งแต่ปี 2561 -2563 พบว่าเด็กอายุ 6-12 ปี มีค่าเฉลี่ยฟันแท้ผุอุด ถอน เพิ่มขึ้น เฉลี่ยที่1.65.5 2.86 1.98 ซี่/คน ตามลำดับจะเห็นได้ว่าโรคฟันผุยังคงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในกลุ่มวัยเรียน
ทั้งนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการ มหกรรมสานฝัน เพื่อเด็กลาโละฟันสวย ปีงบประมาณ 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียนอย่างจริงจังตามบริบทและวิถีการดำเนินชีวิตในพื้นที่ และเพื่อให้เด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กสามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธี สร้างแรงจูงใจหรือการกระทำร่วมกันเป็นกลุ่ม ตลอดจนปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในด้านสุขภาพช่องปาก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

๑.เพื่อให้เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
๒.เพื่อให้เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
๓.เพื่อให้เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 - 6 ที่มีปัญหาด้านสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมและแก้ไขปัญหาตามระดับทุกคน ร้

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 มหกรรม Brushing On Tour

ชื่อกิจกรรม
มหกรรม Brushing On Tour
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในโรงเรียนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,000.00 บาท

หมายเหตุ :
13000

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้อยละ80 ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 - 6 มีทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี และมีค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque Index) ลดลง
2.ร้อยละ 50 ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6ได้รับการเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ในเด็กวัยเรียน (4-12 ปี) และเคลือบหลุมร่องฟันในเด็กวัยเรียน (ุ6-12 ปี)
3.ร้อยละ80 ของเด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) ปราศจากโรคฟันผุ (Caries free) และในรายที่มีปัญหาด้านสุขภาพช่องปากได้รับการส่งต่อบริการทันตกรรม


>