กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนปี 2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ทรัพยากรมนุษย์ เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับทรัพยากรด้านอื่นๆ จะเห็นได้จากแบบพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในสมัยปัจจุบันมุ่งเน้นในการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา และการพัฒนาคนที่ดีก็ควรต้องเริ่มจากวัยเด็ก เพราะเด็กวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพจะต้องมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีการศึกษาที่ดีอย่างพอเหมาะ ดังนั้นการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนจึงถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ที่เราทุกส่วนทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน โดยเฉพาะผู้ปกครองนั้นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลเด็กและเป็นส่วนช่วยในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอย่างใกล้ชิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแสเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแล ของเทศบาลตำบลเชิงแส ปัจจุบันมียอดเด็กทั้งหมด 60คนและจากจำนวนเด็กทั้งหมด พบว่าผู้ปกครองโดยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะการดูแลเด็กเล็ก และเด็กก่อนวัยเรียน แก่ พ่อ แม่ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก

เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ครู จำนวน 60 คน ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและประเมินพัฒนาการเด็ก 0-6 ปี

0.00
2 2.เพื่อให้เด็ก 0 – 6 ปี ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า หรือมีอายุ 9 , 18 , 30 และ 42 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรอง

เด็กได้รับการตรวจคัดกรองจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

0.00
3 3.เพื่อให้เด็ก 0 – 6 ปี ได้รับการประเมินและกระตุ้นพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย จำนวน 60 คน

มีวัสดุอุปกรณ์การเรียนรู้เพื่อกระตุ้นพัฒนาการเด็ก

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่พ่อแม่หรือผู้ปกครอง โดยวิทยากร กำหนดเนื้อหา ดังนี้

- พัฒนาการตามวัยเด็ก 0–6 ปี จำนวน 1 ชั่วโมง - การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 0–6 ปี จำนวน 1 ชั่วโมง
- การประเมินและคัดกรองพัฒนาการเด็กเบื้องต้น จำนวน 1 ชั่วโมง - ความผิดปกติเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก 0–6 ปี จำนวน 1 ชั่วโมง
- จัดกิจกรรมตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก 0-6 ปีตลอดสัปดาห์
2. จัดหาอุปกรณ์การเรียนรู้และกระตุ้นพัฒนาการทดแทนของเก่าหรือเพิ่มเติมไว้ประจำที่ศูนย์เด็กเล็ก
3. ครูพี่เลี้ยงเด็กร่วมกับพ่อแม่ผู้ปกครองเฝ้าระวังประเมินพัฒนาการเด็กทุกเดือน หากสงสัยพัฒนาการล่าช้าให้ส่งพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อคัดกรอง
4. ประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพสต. ตรวจคัดกรองเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า และเด็กที่มีอายุครบ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ศูนย์เด็กเล็ก
5. ครูพี่เลี้ยงเด็กร่วมกับพ่อแม่ผู้ปกครองกระตุ้นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าอย่างต่อเนื่อง 1 เดือน และประสาน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจคัดกรองซ้ำ หากยังมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่สูงกว่า 6. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและประเมินพัฒนาเด็ก 0 – 6
ปี
2. มีวัสดุอุปกรณ์การเรียนรู้เพื่อกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
3. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตามแบบ DSPM
4. เด็ก 0–6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม


>