2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ทันต์สุขภาพ เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัย การมีทันต์สุขภาพอนามัยที่ดีปราศจากโรคในช่องปาก ฟันก็จะทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งถ้าหากมีสุขภาพปากและฟันที่ดีแล้วจะส่งผลให้สุขภาพกายดีไปด้วยเด็กปฐมวัย (๓-๖ ปี) เป็นวัยที่เด็กมีฟันน้ำนมขึ้นมาครบทุกซี่แล้ว โรคในช่องปากที่เป็นปัญหาของเด็กวัยนี้คือ โรคฟันผุ การสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดมีผลเสียต่อบุคลิกภาพ การบดเคี้ยว ตลอดจนการเรียงตัวของฟันถาวรที่จะเกิดขึ้นมาแทนที่และมีผลต่อสุขภาพอนามัยของเด็กการดูแลสุขภาพปากและฟันเป็นสิ่งที่ควรส่งเสริมให้นักเรียนได้กระทำเป็นกิจวัตรประจำวันให้ติดเป็นนิสัย
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่จึงจัดโครงการหนูน้อยรักษ์ฟันขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีในเด็กปฐมวัยโดยมีกิจกรรมการตรวจสุขภาพฟันเด็ก สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้แก่ผู้ปกครอง และจัดให้เด็กมีการแปรงฟันทุกวันในช่วงพักกลางวัน หลังจากรับประทานอาหารกลางวันเรียบร้อยแล้ว และจะมีการประเมินผลโดยมีการจดบันทึกการแปรงฟันประจำวันทุกวัน เพื่อให้เด็กนักเรียนรู้จักการแปรงฟันด้วยตนเองและมีสุขภาพช่องปากดีขึ้นและลดการฟันผุในเด็กปฐมวัยวัย
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/06/2021
กำหนดเสร็จ 31/07/2021
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. เด็กร้อยละ ๘๐.๐๐ สามารถแปรงฟันได้ด้วยตนเอง
2. เด็กร้อยละ ๘๐.๐๐ ยอมรับการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์
3. เด็กร้อยละ ๘๐ ไม่มีฟันผุเพิ่มขึ้น