แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รหัส กปท.
อำเภอ จังหวัด
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
สำนักงาน ป.ป.ส กระทรวงยุติธรรม ร่วมมือกับ กระทรวงศึกษาธิการ จัดทำโครงการสร้างคุ้มกันยาเสพติดในกลุ่มเด็กปฐมวัย โดยใช้ 'นิทาน' เป็นสื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางสมองในการบริหารจัดการชีวิต สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือ สำนักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม ลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกับ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การดำเนินงานด้านการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชนในสถานศึกษาโดยเริ่มต้นจากกลุ่มเด็กปฐมวัย หรือ เด็กอายุระหว่าง 3 ถึง 6 ปี ด้วยการเสริมสร้างความสามารถในการบริหารจัดการชีวิต หรือ เอ็กเซ็กคูทีฟ ฟังก์ชัน หรือ อีเอฟ (Executive Functions : EFs) ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ในป้องกันปัญหายาเสพติด ตั้งแต่ปี 2558 ถึง 2562 ของรัฐบาล สำนักงาน ป.ป.ส. ในกลุ่มเด็กปฐมวัย หรือ เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 วิธีการเสริมสร้างพัฒนาการทางสมองในการบริหารจัดการชีวิต หรือ "อีเอฟ"ในวัยเด็กเล็ก จึงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดที่เข้มแข็ง เนื่องจากสมองจะเปิดรับการเรียนรู้ในการจัดการตนเอง และจดจำไปตลอดชีวิตซึ่งเด็กอายุระหว่าง 2 ถึง 6 ปี มีพัฒนาการที่สามารถเรียนรู้วิธีการนี้ได้ดีที่สุด ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึกในทิศทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของประเทศ ตระหนักถึงความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้กับคนไทยตั้งแต่ระดับปฐมวัย (แรกเกิด – 6 ปี) เพื่อสร้างพลเมืองรุ่นใหม่ให้เข้มแข็งและห่างไกลจากยาเสพติด จากสถิติผู้เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดตั้งแต่ปี 2553 – 2558 พบว่า ผู้เสพหน้าใหม่เข้ารับการบำบัดรักษา มีสัดส่วนของเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 15 ปี เพิ่มสูงขึ้น เป็นเหตุให้ สำนักงาน ป.ป.ส. เห็นถึงความสำคัญจึงต้องเพิ่มน้ำหนักการทำงานด้านการป้องกันเชิงรุก โดยการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเด็กปฐมวัย องค์ความรู้สำคัญที่จะนำมาใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันในกลุ่มเด็กปฐมวัย คือ องค์ความรู้ด้านประสาทวิทยา ในเรื่อง อีเอฟ (EFs หรือ Executive Functions) ซึ่งหมายถึง ความสามารถของสมองในการบริหารจัดการชีวิต เป็นทักษะในการคิดและรู้สึก เช่น ยับยั้งชั่งใจ คิดก่อนทำ รู้จักควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมให้เหมาะสม ความมุ่งมั่นพากเพียร และรู้จักปรับตัวกับสถานการณ์ ล้มแล้วลุกได้ โดยที่ EFs มีช่วงระยะที่จะพัฒนาได้อย่างดี คือ ในช่วงอายุ 2 – 6 ปี ดังนั้น หากต้องการพลเมืองที่มีภูมิคุ้มกันที่เข้มแข็งต่อยาเสพติดและปัญหาอื่นๆ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพัฒนาอย่างถูกวิธีในช่วงอายุนี้” ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึกสำหรับเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ในการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลไพรวัน ได้ดำเนินการจัดทำ โครงการเล่านิทานสำหรับผู้ปกครองในการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดใน “เด็กปฐมวัย” เพื่อให้ผู้ปกครองได้สอดแทรกการป้องกัน ยาเสพติดในนิทานที่เล่าให้แก่เด็กได้รับฟัง โดยเด็กได้ซึมซับเกิดการเรียนรู้ว่ายาเสพติดเป็นอันตรายต่อชีวิต เมื่อเขาเติบโตขึ้น จะได้ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดตลอดไป
-
1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับผู้ปกครองในการป้องกันยาเสพติดตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้เด็กปฐมวัย ได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติดตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเด็ก ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุขด้วยวิถีพุทธตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
4. เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
5. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหายาเสพติดในครอบครัวและสังคมตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่พ่อแม่หรือผู้ปกครอง โดยวิทยากรรายละเอียด
1.ขั้นเตรียมการ 1.1 สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 2-5 ปี 1.2 จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 2.ขั้นดำเนินการ
2.1 ให้ความรู้แนวทางในการเล่านิทานการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดอย่างถูกต้องสำหรับผู้ปกครอง
2.2 ฝึกผู้ปกครองปฏิบัติจริง
2.3 สรุปและประเมินผลการดำเนินงานงบประมาณ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่พ่อแม่หรือผู้ปกครอง โดยวิทยากร -ค่าป้ายไวนิล (ขนาด1.2 x2.4 เมตร) เป็นเงินจำนวน400 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 1คนเป็นเงินจำนวน600 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (50 คน x 30 บาท)เป็นเงินจำนวน1,500 บาท -ค่าหนังสือนิทานชุด EF หนังสือพัฒนาทักษะสมอง 60 เล่มเป็นเงินจำนวน2,850 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์(กระดาษสี ดินสอ กระดาษปกขาว ฟิวเจอร์บอร์ด เทปกาวผ้า ) เป็นเงินจำนวน650บาท
งบประมาณ 6,000.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่
รวมงบประมาณโครงการ 6,000.00 บาท
- ผู้ปกครองมีจิตสำนึกในการป้องกันยาเสพติด
- เด็กปฐมวัย ได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
- เด็กมีคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเด็ก ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุขด้วยวิถีพุทธ 4.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหายาเสพติดในครอบครัวและสังคม 5.ครอบครัวมีภูมิคุ้มกันยาเสพติดโดยใช้นิทานเป็นสื่อในการสร้างภูมิคุ้มกัน
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รหัส กปท.
อำเภอ จังหวัด
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รหัส กปท.
อำเภอ จังหวัด
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................