กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันลดการแพร่เชื้อไวรัส COVID-19

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

อบต.เกาะใหญ่

ในพื้นที่ตำบลเกาะใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยสถานการณ์ระบาดการแพร่เชื้อของโรคไวรัสโควิด 2019 ระลอกใหม่ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ จวบจนปัจจุบัน มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นโรคร้ายแรงและแพร่ระบาดไปทั่วโลก ซึ่งมีจำนวนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ติดเชื้อ และผู้เสียชีวิต เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเป็นวงกว้าง ส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อทั่วประเทศเพิ่มขึ้นจำนวนมากวันละ 1,000 กว่าราย และมีแนวโน้มจะมีการแพร่เชื้อและแพร่ระบาดเพิ่มขึ้นทุกวัน ทั้งในเมืองและชนบท ประกอบกับจังหวัดสงขลาเป็นพื้นที่ที่เสี่ยงสูง หากไม่มีการป้องกัน เกรงคนในพื้นที่จะติดเชื้อและป่วยเป็นโรคระบาดเต็มพื้นที่ ซึ่งหากปล่อยให้มีการแพร่เชื้อและมีการเจ็บป่วยจะทำให้ไม่สามารถรับมือในการรักษาโรคดังกล่าวได้จึงต้องดำเนินการยังยั้งการแพร่เชื้ออย่างเร่งด่วน
องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะใหญ่ ซึ่งเป็นหน่วยงานในพื้นที่และใกล้ชิดกับประชาชน จึงได้ตระหนักในปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันลดการแพร่เชื้อไวรัส โควิด 2019 โดยมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ กับประชาชนในการใช้ชีวิตประจำวันในสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ให้กับประชาชนครอบคลุม ทั้ง 9 หมู่บ้าน มีการคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลภายนอกก่อนเข้าพื้นที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ พ่นฉีดฆ่าเชื้อสถานที่ราชการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และบ้านเรือนที่มีการติดเชื้อ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคระบาด COVID-19

ร้อยละของประชาชนมีความรู้เรื่องอาการของโรคป้องกันโรค COVID-19

0.00
2 เพื่อสร้างความเข้าใจในการควบคุม ดูแล และลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อของโรคระบาด COVID-19

ร้อยละของประชาชน ที่สามารถควบคุม ดูแล และลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อของโรคไวรัส COVID-19 อย่างถูกต้อง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 534
กลุ่มวัยทำงาน 4,600
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,800
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 220
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 17/05/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชน ในการใช้ชีวิตประจำวันในสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชน ในการใช้ชีวิตประจำวันในสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17184.00

กิจกรรมที่ 2 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันโรค

ชื่อกิจกรรม
จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
80050.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 97,234.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>