กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาพู่

1.นางสุดาพรสุขวงศ์
2.นางสอนหล้าสวย
3.นางสมยาชิยางคะบุตร
4.นางสีไพสีสวาท
5.นางสาวตุ๊กชิยางคะบุตร

พื้นที่ตำบลนาพู่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

75.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

100.00
3 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

65.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

 

75.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

65.00 60.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

100.00 85.00
3 เพื่อคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในตำบลนาพู่ เพื่อนำข้อมูลไปประเมิณภาวะสุขภาพ

ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ ร้อยละ 90

100.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดกรองุขภาพผู้สูงอายุเพื่อนำข้อมูลไปประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่องในผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองุขภาพผู้สูงอายุเพื่อนำข้อมูลไปประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่องในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ให้ อสม.แต่ละหมู่บ้านสำรวจและคัดกรองผู้สูงอายุในเขตที่ตัวเองรับผิดชอบ 17 หมู่บ้าน
- จนท.นำข้อมูลเข้าสู่ระบบ ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ ผู็สูงอายุ ที่มีโอกาสเสี่ยงพร้องทั้งผู้ดูแลผู้สูงอายุให้มีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ ผู็สูงอายุ ที่มีโอกาสเสี่ยงพร้องทั้งผู้ดูแลผู้สูงอายุให้มีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารและอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรม   จำนวน  10,000  บาท ค่าวิทยากร  1,500 บาท  2  คน      จำนวน 3,000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มีนาคม 2563 ถึง 5 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมาการดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง ร้อยละ 95

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :
รายละเอียดค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุในตำบลนาพู่ได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
2.ผู้สูงอายุในตำบลนาพู่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากความเสื่อมของร่างกายลดลง
3.ครอบครัว ผู้ดูแลผู้สูงอายุและเจ้าหน้าที่มีส่วนร่วมในการวางแผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุร่วมกัน


>