กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการคุ้มครองผู้บริโภคปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปี ๒๕๖๔

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โป่ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคุ้มครองผู้บริโภคปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปี ๒๕๖๔

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โป่ง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา

ตำบลโป่ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อาหารเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อร่างกายของมนุษย์ อาหารที่มีคุณค่าคุณประโยชน์ต่อร่างกาย คืออาหารที่สะอาดปราศจากสิ่งปนเปื้อนที่เป็นพิษต่อร่างกาย ปัจจุบันอาหารถูกทำให้มีการปนเปื้อนของสารเคมีหรือสารพิษมากมาย ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดโรคร้ายภายในร่าง

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในร้านอาหาร แผงลอย ร้านขายอาหารสดในหมู่บ้านและโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒. เพื่อประชาชนได้บริโภคอาหารที่ผ่านการตรวจสารปนเปื้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน ๓. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษ

๑. ความปลอดภัยด้านอาหารในร้านอาหาร  แผงลอย  ร้านขายอาหารสดในหมู่บ้านและโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๙๕ ๒.ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ผ่านการตรวจสารปนเปื้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน ๓.ลดอัตราป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษ

100.00 95.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรม

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เงินประมาณจากกองทุนประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารตำบลโป่ง จำนวน ๑๙,๘๐๐(หนึ่งหมื่นเก้าพันแปดร้อยบาทถ้วน) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในโครงการ โดยมี รายละเอียด ดังนี้ -  ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ๑.๕x๓.๕ ตารางเมตร จำนวน ๑ ป้าย   เป็นเงิน ๕๐๐ บาท -  ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรม ๑๐๐ คนๆละ ๘๐ บาท จำนวน ๑ มื้อเป็น เงิน ๘,๐๐๐ บาท -  ค่าอาหารว่างพร้อมเรื่องดื่ม จำนวน ๑๐๐ คนๆละ ๒๕ บาทจำนวน ๒ มื้อเป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท -  ค่าวิทยากรบรรยาย จำนวน ๒ คน x ๓๐๐ บาท x ๓ ชั่วโมง เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท -  ค่าวัสดุอุปกรณ์ ๔,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๙,๘๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นเก้าพันแปดร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ : งบประมาณเบิกจ่ายแบบถัวเฉลี่ย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.  ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด  ปลอดภัย  ได้คุณค่า  อย่างทั่วถึงและเพียงพอ     ๒.  ผู้ประกอบอาหารจำหน่ายอาหารที่ไม่มีสารปนเปื้อนใด ๆ     ๓.  ประชาชนมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารและบริโภคอาหารที่ปราศจาก                  สารปนเปื้อน ๔. ร้านขายของชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารในหมู่บ้านได้รับการตรวจแนะนำ ๕. ลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยได้คุณค่าอย่างทั่วถึงและเพียงพอ
๒.ผู้ประกอบอาหารจำหน่ายอาหารที่ไม่มีสารปนเปื้อนใด ๆ
๓.ประชาชนมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารและบริโภคอาหารที่ปราศจาก
สารปนเปื้อน
๔. ร้านขายของชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารในหมู่บ้านได้รับการตรวจแนะนำ
๕. ลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษ


>