กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง รหัส กปท. L7615

อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000วันพลัสประจำปีงบประมาณ 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลปากช่องนานา (ประปา)
กลุ่มคน
หน่วยงาน โรงพยาบาลปากช่องนานา (ประปา)
3.
หลักการและเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโตแข็งแกร่งยั่งยืนในทุกด้านประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลักเพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตโดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ระยะคลอดหลังคลอดเมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียนปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องซึ่งจุดเริ่มต้นที่สำคัญคือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์เพื่อสามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรกช่วยในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพเกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์อันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดลูกจะลดลงได้เมื่อผู้หญิงมีสุขภาพแข็งแรงและมีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรที่เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่นมารดาและทารกปลอดภัยปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรงน้ำหนักทารกแรกเกิดไม่ต่ำกว่าเกณฑ์จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของจังหวัดนครราชสีมามีหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ในปี 2563 จำนวน 6,921 คนทารกแรกเกิดมีชีพปี 2563 มีจำนวน 11,403 คนจำนวนเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมปี 2563 จำนวน 746 คนคิดเป็นร้อยละ 6.54 ซึ่งทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมจะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้าน IQ EQ และการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทารกในส่วนพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีในปี 2563 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 97.25 พบสงสัยล่าช้าร้อยละ 2.75 จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของคลินิกหมอครอบครัวประปามีหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ในปี 2563 จำนวน 50 คนทารกแรกเกิดมีชีพปี 2563 มีจำนวน 55 คนจำนวนเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมปี 2563 จำนวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 4.02 ในส่วนพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีในปี 2563 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 98.78 พบสงสัยล่าช้าร้อยละ 1.22 ทางคลินิกหมอครอบครัวประปามีแนวคิดที่จะส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันพลัสประจำปีงบประมาณ 2563 ขึ้นเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักดีไม่ตกเกณฑ์เด็กอายุ 0 ถึง 5 ปีสูงดีสมส่วนมีพัฒนาการสมวัยและเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี
    ตัวชี้วัด : ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อลดภาวะเล็หิตจางในหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : ทำให้ลดภาวะเล็หิตจางในหญิงตั้งครรภ์
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักดีไม่ตกเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ทำให้เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักดีไม่ตกเกณฑ์
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เด็กอายุ 0 ถึง 5 ปีสูงดีสมส่วน
    ตัวชี้วัด : ทำให้เด็กอายุ 0 ถึง 5 ปีสูงดีสมส่วน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
    ตัวชี้วัด : ทำให้เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 6. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
    ตัวชี้วัด : ทำให้ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000วันพลัสประจำปีงบประมาณ 2564
    รายละเอียด

    การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโตแข็งแกร่งยั่งยืนในทุกด้านประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลักเพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตโดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ระยะคลอดหลังคลอดเมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียนปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องซึ่งจุดเริ่มต้นที่สำคัญคือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์เพื่อสามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรกช่วยในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพเกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์อันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดลูกจะลดลงได้เมื่อผู้หญิงมีสุขภาพแข็งแรงและมีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรที่เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่นมารดาและทารกปลอดภัยปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรงน้ำหนักทารกแรกเกิดไม่ต่ำกว่าเกณฑ์จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของจังหวัดนครราชสีมามีหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ในปี 2563 จำนวน 6,921 คนทารกแรกเกิดมีชีพปี 2563 มีจำนวน 11,403 คนจำนวนเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมปี 2563 จำนวน 746 คนคิดเป็นร้อยละ 6.54 ซึ่งทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมจะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้าน IQ EQ และการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทารกในส่วนพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีในปี 2563 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 97.25 พบสงสัยล่าช้าร้อยละ 2.75 จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของคลินิกหมอครอบครัวประปามีหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ในปี 2563 จำนวน 50 คนทารกแรกเกิดมีชีพปี 2563 มีจำนวน 55 คนจำนวนเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมปี 2563 จำนวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 4.02 ในส่วนพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีในปี 2563 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 98.78 พบสงสัยล่าช้าร้อยละ 1.22 ทางคลินิกหมอครอบครัวประปามีแนวคิดที่จะส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กตามนโยบายโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันพลัสประจำปีงบประมาณ 2563 ขึ้นเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักดีไม่ตกเกณฑ์เด็กอายุ 0 ถึง 5 ปีสูงดีสมส่วนมีพัฒนาการสมวัยและเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

    งบประมาณ กิจกรรมที่ 1 1. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 40 คน x 100 บาทเป็นเงิน 4,000 บาท
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 40 คน x 2 มือ x 30 บาทเป็นเงิน 2,400 บาท
    3. ค่าวัสดุ / อุปกรณ์จำนวน 40 คน x 20 บาทเป็นเงิน 800 บาท
    4. ค่าเล่มคู่มือ“ การดูแลสุขภาพแม่และเด็กตามโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันเป็นเงิน 800 บาท บาทแรกแห่งชีวิต” จำนวน 40 เล่ม x 20 บาท
    5. ค่าวิทยากรบรรยายจำนวน 6 ชม. x 600 บาทเป็นเงิน 3,600 บาท
    6. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการขนาด 2 x 2.5 เมตรจำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 500

    กิจกรรมที่ 2
    1. ค่านม 90 วัน 180 กล่องสำหรับหญิงตั้งครรภ์จำนวน 20 คน x 180 กล่องเป็นเงิน 39,600 บาท X 11 บาท
    2. ค่าชุดสาธิตการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่เข้าร่วมโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันเป็นเงิน 10,000 บาทแรกแห่งชีวิตจำนวนคน x 400 บาท
    3. ค่าอุปกรณ์ใส่สมุนไพรสำหรับหญิงหลังคลอดจำนวน 20 คน x 20 บาทเป็นเงิน 400

    (หกหมื่นสองพันหนึ่งร้อยบาทถ้วน) รวมเป็นเงิน 62,100 บาทบาท

    งบประมาณ 62,100.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

คลินิกหมอครอบครัวประปา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 62,100.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ) ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ) อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ 7 3. ) ร้อยละ 85 ของเด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 4. ) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปีสูงดีสมส่วนร้อยละ 60 5. ) ร้อยละของเด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 60
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง รหัส กปท. L7615

อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง รหัส กปท. L7615

อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 62,100.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................