กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการร่วมใจป้องกันโรคติดเชื้้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19) หมู่ที่ 4 ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ

อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 4

1.​นางระวีวรรณ​ ช่วยเพชร
2.​นางสาว​พรเพ็ญ​ เจริญจิตต์
3.​นางเฉลียว​ เพชรประดับ
4.นางอุไร​ ด้วงเกื้อ
5.นางสาว​สมโชค​ จันทร์แดง

หมู่ที่ 4 ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายโดยไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื่อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนัก 1-3% ร้ายแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งอัตราการตาย 10% แต่มีการระบาดที่ง่ายกว่าจึงทำให้เกิดการระบาดเป็นวงกว้าง และรวดเร็วในขณะนี้ ดังนั้นมาตรการการป้องกันเพื่อป้องกันโรคโควิด19 ถือว่ามีความจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง การป้องกันตนเอง เช่น การหลีกเลี่ยงการเดินทางไปในสถานที่เสี่ยงหรือแออัด การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ การสวมใส่หน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีและเหมาะสม การเว้นระยะห่างทางสังคม มีความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค ทางกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ม.4 ต.ระวะ จึงได้เห็นความสำคัญของการป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา Covid-19 และสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ให้ห่างไกลจากโรคโควิด 19 จึงได้มีการจัดทำโครงการขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

60.00 80.00
2 2.เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ( โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ( โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ)

50.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 194
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 126
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 24/05/2021

กำหนดเสร็จ 30/12/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้เรื่องโรคโควิด -19

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้เรื่องโรคโควิด -19
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อสม.ลงเคาะประตูบ้านในเขตรับผิดชอบ

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนในหมู่ 1 จำนวน 190 คน ได้รับความรู้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวังโรคในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
เฝ้าระวังโรคในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดซื้อหน้ากากอนามัยแบบผ้าสำหรับกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ( โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ) จำนวน 320 ชิ้น เป็นเงิน 8,000 บาท 2.จัดซื้อแอลกอฮอล์ล้างมือ ขนาด 100 มล. จำนวน 320 ขวด เป็นเงิน 9,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ( โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ) มีหน้ากากอนามัยในการป้องกันโรค 2.กลุ่มคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ( โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ) มีแอลกอฮอลล้างมือในการป้องกันโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนในพื้นที่ได้รับการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019


>