กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมสมรรถนะในการจัดการตนเองของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเมตาบอลิก

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองแก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสมรรถนะในการจัดการตนเองของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเมตาบอลิก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองแก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองแก

นายเกียรติศักดิ์นามวิเศษ
นางจีรนันท์ นามวิเศษ
นางสาวสุภาพร ทุมชะ
นางสาวกฤษณาสำรวมใจ
นางสาวทองเพชรบรรเทาพิษ

ตำบลหนองแก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนทั่วไปอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยง และผู้ป่วย ได้รับการตรวจคัดกรองโรค และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

2,954.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อให้ประชาชนที่พบภาวะเสี่ยงต่อเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับทราบสุขภาวะสุขภาพของตนเอง 3. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน / ความดันโลหิตสูง / โรคหัวใจ / โรคหลอดเลือดสมอง 5. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน และรับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
  1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป  ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์คุณภาพ  คลินิก DPAC ( 3 อ. 2 ส. ) อย่างน้อยร้อยละ 5
  3. ผู้ป่วยที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนได้รับการรักษา / ติดตามผลตามมาตรฐานคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  ร้อยละ 100
2954.00 2954.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,750
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดกรองและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมเจ้าหน้าที่/อสม.วางแผนงานการตรวจคัดกรองแต่ละหมู่บ้าน
  2. เตรียมอุปกรณ์การตรวจคัดกรอง  ชุดเครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด เครื่องชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เอกสารการตรวจคัดกรอง  จัดทำคู่มือสมุดประจำตัวผู้มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองแต่ล่ะหมู่บ้านตามแผน
  4. นสค. และ อสม. ออกตรวจคัดกรองและคืนข้อมูลสุขภาพ/ให้ความรู้รายบุคคลและรายกลุ่ม พร้อมรับสมัครประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพื่อร่วมกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  5. ติดตามประเมินความเสี่ยงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง 1 ครั้งต่อเดือน  เป็นเวลา 3 เดือน
  6. ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  7. ส่งต่อผู้ป่วยที่มีมีภาวะแทรกซ้อนเพื่อพบแพทย์และเพื่อการรักษา / ติดตามผลการรักษา
  8. สรุปและประเมินผล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป  ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์คุณภาพ  คลินิก DPAC ( 3 อ. 2 ส. ) อย่างน้อยร้อยละ 5
  3. ผู้ป่วยที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนได้รับการรักษา / ติดตามผลตามมาตรฐานคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  ร้อยละ 100
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25380.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,380.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2. ประชาชนที่พบภาวะเสี่ยงต่อเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับทราบสุขภาวะสุขภาพของตนเอง
3. ประชาชนตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม
4. ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเช่น เบาหวาน / ความดันโลหิตสูง / โรคหัวใจ / โรคหลอดเลือดสมอง
5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน และรับการดูแลอย่างต่อเนื่อง


>