กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนโอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกัน ควบคุม แก้ไข ปัญหาโควิด 19ตำบลดอนโองอำเภอโพธิ์ชัยจังหวัดร้อยเอ็ด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนโอง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านดอนเจริญตำบลดอนโองอำเภอโพธิ์ชัยจังหวัดร้อยเอ็ด

นายมนูสรรพวุธ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอนโอง
นางวัฒนา ขวัญแก้วปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลดอนโอง
นายเกรียงไกร โสนะชัยกำนันตำบลดอนโอง
นายวิเชียรโพธิ์จักร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนโอง
ดร.นฤมลทิพชัย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนโองท่าวารีย์วิทยาสรรค์

ตำบลดอนโอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง

 

80.00
2 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

 

100.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19

 

65.45
4 จำนวนของมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการลดเหล้า บุหรี่ สารเสพติดในช่วงโควิด-19

 

3.00
5 ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

 

100.00
6 จำนวนมาตรการทางสังคม เช่น ข้อตกลง ธรรมนูญ/มาตรการชุมชนเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19 (เช่น มาตรการของตลาด มาตรการทำกิจกรรมทางศาสนา มาตรการสวมหน้ากากอนามัย มาตรการจัดงานพิธีต่างๆ)

 

1.00
7 จำนวนจิตอาสาที่สามารถมาช่วยเหลือคนในชุมชนได้

 

200.00
8 ร้อยละของครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19

 

85.55
9 ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา

 

14.50
10 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

 

10.56

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

80.00 90.60
2 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

100.00 100.00
3 เพื่อให้คนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19 เพิ่มขึ้น

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19

65.45 69.67
4 เพื่อให้ชุมชนมีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการลดเหล้า บุหรี่ สารเสพติด ในช่วงโควิด-19

จำนวนของมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการลดเหล้า บุหรี่ สารเสพติด ในช่วงโควิด-19

3.00 4.00
5 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

100.00 100.00
6 เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม เช่น ข้อตกลง ธรรมนูญ/มาตรการชุมชนเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19 (เช่น มาตรการของตลาด มาตรการทำกิจกรรมทางศาสนา มาตรการสวมหน้ากากอนามัย มาตรการจัดงานพิธีต่างๆ)

จำนวนมาตรการทางสังคมเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19

1.00 2.00
7 เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน

จำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนเพิ่มขึ้น

200.00 230.00
8 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น

ร้อยละของครัวเรือนในชุมชนที่เข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น

85.55 90.11
9 เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง

14.50 14.50
10 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19  ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

10.56 10.56

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 235
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 625
กลุ่มวัยทำงาน 2,566
กลุ่มผู้สูงอายุ 655
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 6
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 245
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 87
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดตั้งทีม ศปกต.และมาตรการชุมชน

ชื่อกิจกรรม
1.จัดตั้งทีม ศปกต.และมาตรการชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 40คน คนละ25บาทเป็นเงิน1000บาท 2.จัดตั้งทีมงานสอบสวนเคลื่อนที่เร็วจัดตั้งกลุ่มไลน์ 3.มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ 4. มีมาตรการชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ทีมปฏิบัติการเร็วศปกต.จำนวน70คนประกอบด้วยหน่วยงานองค์กรในชุมชน 2.เกิดมาตรการชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 2.ประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
2.ประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ผู้นำชุมชนอสม. ออกค้นหาประชาสัมพันธ์ค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเป้าหมาย 2.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์จำนวน24ป้ายป้ายละ 500บาทเป็นเงิน12000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 100 ประชาชนได้รับทราบข้อมูลได้อย่างทั่วถึง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 3 3.ค้นหากลุ่มเสี่ยงสร้างความรู้ความเข้าใจให้ความรู้แก่ประชาชน

ชื่อกิจกรรม
3.ค้นหากลุ่มเสี่ยงสร้างความรู้ความเข้าใจให้ความรู้แก่ประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.คัดกรองเชิงรุกกลุ่มเสี่ยง ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง  ทุกคน  โดยทีม ศปกต. 2.การสร้างความรู้ ความเข้าใจ  โดยประชาสัมทางหอกระจาย  รถรถประชาสัมพันธ์  จำนวน  5  ครั้ง  ครั้งละ  800  บาท   เป็นเงิน  4000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนในตำบลดอนโองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคโควิดเพิ่มขึ้น 2.ไม่มีผู้ป่วยในตำบลดอนโอง 3.กลุ่มเสี่ยงกักตัวครบทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 4 4.จัดประชุม ให้ความรู้ ร้านค้า แผงลอย สถานประกอบการ โรงเรียน วัด หน่วยงานในตำบลดอนโอง

ชื่อกิจกรรม
4.จัดประชุม ให้ความรู้ ร้านค้า แผงลอย สถานประกอบการ โรงเรียน วัด หน่วยงานในตำบลดอนโอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประสานงาน โดยออกหนังสือเชิญประชุม 2.จัดประชุม  ค่าอาหาร  1 มื้อ  มื้อละ 50  บาท และอาหารว่าง   2 มื้อ มื้อละ 25  บาท  = 100 บาท * 70  คน  เป็นเงิน  7000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้านค้าแผงลอยสถานประกอบการโรงเรียนวัดหน่วยงานในตำบลดอนโองปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 5 5.ติดตามและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
5.ติดตามและประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานค้นหากลุ่มเสี่ยง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ทีมปฏิบัติการเร็วศปกต.จำนวน70คนประกอบด้วยหน่วยงานองค์กรในชุมชน
2.เกิดมาตรการชุมชน
3.กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 100
4.ประชาชนได้รับทราบข้อมูลได้อย่างทั่วถึง
5.ประชาชนในตำบลดอนโองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคโควิดเพิ่มขึ้น
6.ไม่มีผู้ป่วยในตำบลดอนโอง
7.กลุ่มเสี่ยงกักตัวครบทุกคน
8.ร้านค้าแผงลอยสถานประกอบการโรงเรียนวัดหน่วยงานในตำบลดอนโองปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด


>