กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัวใต้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัวใต้

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดอนปอ

1.นายชุมพล วิชาราช
2.นายแสงจันทร์ คำสมหมาย
3.นายทองมา สระบุรี
4.นายสุดที สามหาดไทย
5. นางบัวบาน ไชยพิมพ์

บ้านดอนปอ หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้ความรู้ / คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พื้นที่ของบ้านดอนปอ
2.เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียวต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน ติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19)

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 85
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 258
กลุ่มวัยทำงาน 273
กลุ่มผู้สูงอายุ 176
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 9
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 81
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 42
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2020

กำหนดเสร็จ 31/05/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ชื่อกิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าดำเนินการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในหมู่บ้าน โดย อสม./ผู้นำชุมชน และคณะกรรมการคุ้ม เป็นเงิน 6,600 บาท สำหรับเป็นค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1.1 ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มการอบรมให้ความรู้ และวางแผนการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 1 ครั้ง จำนวน 30 คน x 130 บาท  เป็นเงิน 3,900 บาท 1.2 ค่าอาหารกลางวันการประชุม สรุปผลการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 1 ครั้ง จำนวน 30 คน x 80 บาท  เป็นเงิน 2,400 บาท 1.3ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจและแบบรายงานข้อมูลกลุ่มเฝ้าระวัง เป็นเงิน 300 บาท 2.ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ป้องกันโรคในชุมชนสำหรับเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้     ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำหน้ากากอนามัยแบบ Face shield 300 ชิ้น เป็นเงิน 2,245 บาท ประกอบด้วย 2.1 แผ่นพลาสติกใส 3 ห่อ x 155 บาท เป็นเงิน 465 บาท 2.2 เครื่องเจาะกระดาษ 1 ตัว เป็นเงิน 100 บาท 2.3  กาว 2 หน้า 3 ม้วน เป็นเงิน 405 บาท 2.4 ยางยืดรัดหัวกางเกงรุ่นเล็ก 75 เมตร x 10 บาท เป็นเงิน 405 บาท 2.5 แผ่นฟองน้ำ 75 แผ่น x 7บาท เป็นเงิน 525 บาท 3. ค่าเครื่องวัดอุณหภูมิ อินฟาเรด สำหรับวัดไข้  จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 3,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสามารถให้การดูแลแนะนำประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19)
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12645.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,645.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสามารถให้การดูแลแนะนำประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
2. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19)


>