กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมและการใช้สมุนไพรในชุมชนตำบลโป่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปี 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โป่ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและการใช้สมุนไพรในชุมชนตำบลโป่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โป่ง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา

ตำบลโป่ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย ได้สนับสนุนยาสมุนไพรสู่สถานบริการปฐมภูมิทุกแห่ง 10 รายการ ได้แก่ ยาอมมะแว้ง ฟ้าทลายโจร ขมิ้นชัน เถาวัลย์เปรียง น้ำมันไพร มะขามแขก รางจืด หญ้านวดแมวเพชรสังฆาต หญ้าดอกขาว ทิงเจอร์ทองพันชั่ง เสลดพังพอนทิงเจอร์ เพื่อบริการประ

 

102.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้ยาสมุนไพรที่ถูกต้อง 2. เพื่อเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาสมุนไพรของประชาชนตำบลโป่ง 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนใช้ยาสมุนไพรอย่างถูกต้อง

-

102.00 102.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 102
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.เขียนโครงการ และเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับสนับสนุนวิทยากร 3.ประสานชุมชนในการคัดเลือกตัวแทนเพื่อเข้ารับการอบรม 4.จัดการอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ยาสมุนไพร 5.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการใช้สมุนไพรเบื้องต้น

ชื่อกิจกรรม
1.เขียนโครงการ และเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับสนับสนุนวิทยากร 3.ประสานชุมชนในการคัดเลือกตัวแทนเพื่อเข้ารับการอบรม 4.จัดการอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ยาสมุนไพร 5.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการใช้สมุนไพรเบื้องต้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณจากเงินกองทุนประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลโป่ง จำนวน 21,680   บาท (สองหมื่นหนึ่งพันหกร้อยแปดสิบบาทถ้วน)เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในโครงการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ ตัวแทนประชาชนและอสม.ตำบลโป่ง -ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม มื้อละ 80 บาท x 1 มื้อ x 102  คนเป็นเงิน   8,160  บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม มื้อละ 25 บาท x 2 มื้อ x 102 คน  เป็นเงิน  5,100 บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละ 300 บาท x 6 ชั่วโมง/วัน x 1 คน  จำนวน   1 วัน      เป็นเงิน  1,800  บาท
-ป้ายโครงการ ขนาด 1.5x3.5 ตารางเมตร จำนวน 1 ป้าย   เป็นเงิน      500   บาท 2.ค่าเอกสาร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม
- ค่าแฟ้ม เล่มละ 30 บาท x 102   เล่ม       เป็นเงิน  3,060    บาท
- ค่าสมุด เล่มละ 20 บาท x 102   เล่ม       เป็นเงิน  2,040    บาท
- ค่าปากกา เล่มละ 10 บาท x 102  เล่ม     เป็นเงิน  1,020    บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น     21,680.-บาท    (สองหมื่นหนึ่งพันหกร้อยแปดสิบบาทถ้วน)
หมายเหตุ: ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายแทนกันได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้ผ่านการอบรมได้รับการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการใช้ยาสมุนไพรและผลข้างเคียงอย่างถูกต้อง
2.ประชาชนมีความตระหนักในการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการใช้สมุนไพร
3. ลดภาวการณ์การใช้ยาแผนปัจจุบันที่รุนแรงและต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21680.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,680.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>