กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองหนองคาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคืนดวงตาที่สดใส ห่างไกลต้อกระจก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองหนองคาย

ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 (บ้านนาโพธิ์)

นางกัลยาณีปุณขันธุ์และคณะ

ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 (บ้านนาโพธิ์)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ที่มีความผิดปกติทางสายตา

 

117.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพดวงตา การถนอมสายตาแก่ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตา

ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตามีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาและการถนอมสายตา

0.00
2 เพื่อช่วยเหลือแก้ปัญหาความผิดปกติทางสายตาแก่ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตาให้สามารถ มองเห็นได้ปกติ

ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตาสั้น สายตายาว หรือสายตาเอียง ได้รับการรักษาและ แว่นสายตาที่เหมาะสม ร้อยละ ๑๐๐

0.00
3 เพื่อป้องกันและชะลอความรุนแรงปัญหาโรคทางตาและการมองเห็นแก่ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหา ด้านสายตา

ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาโรคทางตา ได้รับแว่นกันแสงเพื่อป้องกันและชะลอความรุนแรงของโรค
ร้อยละ ๑๐๐

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 29
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 88
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้การดูแลรักษาสุขภาพดวงตา จัดซื้อ/ประกอบแว่นสายตาและแว่นกันแสง สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตา

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมให้ความรู้การดูแลรักษาสุขภาพดวงตา จัดซื้อ/ประกอบแว่นสายตาและแว่นกันแสง สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นดำเนินการ
1.นำข้อมูลผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาโรคทางตาและการมองเห็น คัดแยกกลุ่มในการรับการรักษา ส่งต่อ จัดแว่นสายตา หรือแว่นกันแสง 2.ผู้ที่มีปัญหาโรคทางตาเร่งด่วนส่งปรึกษาแพทย์รับการรักษาตามคำสั่งแพทย์ 3.ผู้ที่มีปัญหาสายตาผิดปกติ (สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง) จัดซื้อ/ประกอบแว่นตา
พร้อมกับมอบแว่นตาตามผลการตรวจของแต่ละบุคคล
4.ผู้ที่มีปัญหาขัดเคืองตารับการรักษาด้วยยาหยอดตา และผู้มีอาการผิดปกติแต่ไม่เร่งด่วนนัดเพื่อ
ปรึกษาแพทย์รับการรักษาตามคำสั่งแพทย์ จัดหาแว่นกันแสงเพื่อป้องกันและชะลอความรุนแรงของโรค 5.อบรมให้ความรู้การดูแลรักษาสุขภาพดวงตา การถนอมสายตา พร้อมทั้งแนะนำวิธีการใช้และ ความสำคัญของการใช้แว่นสายตาและแว่นกันแสง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตามีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพดวงตาและการถนอมสายตา 2.ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาด้านสายตาสั้น สายตายาว หรือสายตาเอียง ได้รับการรักษาและแว่นสายตาที่เหมาะสม ร้อยละ ๑๐๐
3.ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาโรคทางตา ได้รับแว่นกันแสงเพื่อป้องกันและชะลอความรุนแรงของโรค ร้อยละ ๑๐๐ 4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจมากกว่า ร้อยละ ๘๐

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
29725.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 29,725.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพสายตาได้
2.ผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาด้านการมองเห็นได้รับแว่นสายตาที่เหมาะสม แก้ปัญหาด้านการมองเห็นสามารถใช้ชีวิต ประจำวันอย่างปกติสุข
3.ผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะโรคทางตาได้รับแว่นกันแสง สามารถป้องกันและชะลอความรุนแรงของโรคทางตา ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


>