กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพ่อมิ่ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ครอบครัวใส่ใจป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพ่อมิ่ง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง

นส.สอรียะ สมาแห

ห้อวประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ที่ถูกต้องในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์

ร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์ปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง

3.00 0.00
2 2.เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ไม่เกินร้อยละ 10 ในหญิงตั้งครรภ์มีโลหิคจาง

4.00 1.00
3 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์

ร้อยละ 65 หญิงตั้งครรภ์มางากครรภ์ก่อน หรือเท่ากับ 12 สัปดาห์

3.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 68
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 07/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ระยะก่อนดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ระยะก่อนดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.สำรวจรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ รพ.สต.พ่อมิ่ง 2.ประชุมคณะทำงานเครื่อข่าย รพ.สต.พ่อมิ่ง เพื่อชี้แจงโครงการและกำหนดบทบาทความรับผิดชอบ 3.จัดทำโครงการเสนอเทศบาลตำบลพ่อมิ่ฃเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำสามารถชี้แจงโครงการที่จัดทำและวางแผน ตามกำหนดได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
900.00

กิจกรรมที่ 2 ระยะดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ระยะดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ สามี ครอบครัว และแกนนำเครื่อข่าย อสม. เพื่อปอ้งกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 2.ส่งเสริมความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ โดยให้หญิงตั้งครรภ์และสามี เข้าร่วมอบรมพร้อมกันเพื่อมุ่งเน้นความรู้ที่ป้องกันและแก้ไขภาวะโลหิตจาง และการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ 3.ปรับพฤติกรรมการกินอาหาร ในแม่ที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น โลหิตสูง จะเน้นให้สามีเป็นผู้นำในการปรับพฤติกรรมการกินอาหารในครอบครัว เช่นจัดเตรียมเมนูอาหารเสริมธาตุเหล็กให้ภรรยา 4.ให้วิตามินเสริมธาตุเหล็กโดยการให้สามีเป็นผู้ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง เช่น กระตุ้นเตือนกินยา จัดยาให้กินเมื่อถึงเวลา 5.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "รักนี้...ไม่มีวันจาง"โดยเชิญหญิงตั้งงครรภ์และครอบครัว ที่สามารถแก้ไขภาวะโลหิตสูงจางได้สำเร็จ มาเล่าเคล็ดลับดีๆ ในการดูแลตนเองให้พ้นจากภาวะเลือดจางและสรุปบทเรียนที่ได้มาเป็นแนวทางปฏิบัติในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
6. ออกเยี่ยมบ้านหรือโทรศัพท์กระตุ้นเตือนการกินยาและติดตามการกินยาเสริมธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์อย่างต่อเนื่อง
7. ประสานงานเครือข่ายในชุมชน(แกนนำ อสม.)ในการติดตามกระตุ้นเตือนการกินยาเสริมธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์ ในกรณีไม่สามารถติดต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้
8. ติดตามตรวจความเข้มข้นของเลือดทุกเดือน(กรณีที่ซีด)จนกระทั่งผลความเข้มข้นของเลือดเป็นปกติ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ความสามารถดูแลตนเองในระหว่างตั้งครรภ์ได้และมีความปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง
2. อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ ๑0
3. มารดาคลอดทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ลดลงไม่เกินร้อยละ 7
4. ความรักในครอบครัวที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์นำพาให้เกิดความร่วมมือป้องกันภาวะแทรกซ้อนอย่างจริงจัง โดยสามีเป็นผู้นำในการป้องกันทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความปลอดภัยมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19340.00

กิจกรรมที่ 3 ระยะหลังดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ระยะหลังดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
  2. สรุปผลและรายงานผลการดำเนิน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๕. เครือข่าย อสม.มีความเข้มแข็งและสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก อันส่งผลให้มารดาและทารกมีสุขภาพที่ดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,240.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ความสามารถดูแลตนเองในระหว่างตั้งครรภ์ได้และมีความปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง
2. อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ ๑0
3. มารดาคลอดทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ลดลงไม่เกินร้อยละ 7
4. ความรักในครอบครัวที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์นำพาให้เกิดความร่วมมือป้องกันภาวะแทรกซ้อนอย่างจริงจัง โดยสามีเป็นผู้นำในการป้องกันทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความปลอดภัยมากขึ้น
๕. เครือข่าย อสม.มีความเข้มแข็งและสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก อันส่งผลให้มารดาและทารกมีสุขภาพที่ดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้


>