แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ รหัส กปท. L5202
อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
นางสุวดี จันกระจ่าง
สภาพสังคมในปัจจุบันประเทศไทยกำลังมุ่งเข้าสู่สังคมแห่งผู้สูงวัย ทั้งนี้ผู้สูงอายุจำนวนมากขาดการดูแลเอาใจใส่ ถูกทอดทิ้งให้อยุ่ตามลำพัง หรืออยู่กับเด็กในวัยเรียนและก่อนวัยเรียน โดยบุตรหลานวัยทำงานต้องดิ้นรนออกไปทำงานนอกพื้นที่ เพราะสภาพเศรษฐกิจในปัขขุบันเกิดการชะลอตัวค่าครองชีพ เครื่องอุปดภค บริโภค มีราคาสูง รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายให้บุตรหลาน ไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่ ผู้สูงอายุ บางรายปล่อยให้ผู้สูงอายุดำเนินชีวิตอยู่เพียงลำพังด้วยเงินเบี้ยยังชีพเท่านั้น ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส หลายรายในสังคมโรคประจำตัวหรือต้องเป้นผู้ติดเตียง ไม่มีโอกาสได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มหรือชมรมต่างๆ บางรายอาจเกิดความน้อยใจหรือหมดกำลังใจที่จะดำเนินชีวิตต่อไป ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่ชนบท ตั้งอยู่ในเขตองคืการบริหารส่วนตำบลประกอบ มีประชากรทั้งสิ้น 6,615 คน (จากฐานข้อมูลในระบบ JHCIS ของ รพ.สต.บ้านใหม่ ) รับผิดชอบทั้งสิ้น 7 หมู่บ้าน มีผู้สูงอายุทั้งสิ้น 638 คน คิดเป็นร้อยละ 9.64 ของประชากรทั้งหมด โรคเรื้อรังที่พบบ่อยในกลุ่มผู้สูงอายุตำบลประกอบ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 143 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.41 โรคเบาหวาน 22 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 3.44 ทั้งโรคความดันและเบาหวานจำนวน 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.41 ผู้สูงอายุที่มีปัยหาโรคหลอดเลือดสมองทำให้มีปัยหาอัมพฤกษ์ อัมพาต 14 ราย (จากผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ทั้งหมด 16 ราย) คิดเป็นร้อยละ 2.19 นอกจากนั้นยังพบว่ามีผู้สูงอายุในชุมชนส่วนหนึ่งถูกทอดทิ้งให้อยุ่ตามลำพัง ขาดผู้ดูแลทั้งที บางรายมีโรคประจำตัวและช่วยเหลือตัวเองได้น้อย ซึ่งเป็นปัยหาที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จากสภาพปัญหาการเจ้บป่วยด้วยดรคเรื้อรังของผู้สูงอายุดังกล่าว ทำให้ผู้สูงองายุสูญเสียการมีสุขภาพที่ดี และความเสื่อมของร่างกายทำให้เกิดปัยหาการพึ่งพิงสูง บางรายมีภาวะแทรกซ้อนยจากการเจ็บป่วยไม่สามารถดูแลตนเองได้ซึ่งเป็นภาวะการดูแลของคนในครอบครัว และชุมฃนในการดูแล จากการสำรวจสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งหมดของตำบลประกอบ ในปีงบประมาณ 2560 แยกตามความสามารถในการดูแลตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน พบว่าจากผู้สูงอายุทั้งหมด 638 คน เป็นผู้สูงอายุประเภทที่ 1 ช่วยเหลือตัวเองได้ดี จำนวน 607 คน คิดเป็นร้อยละ 94.83 เป็นผู้สูงออายุประเภทที่2 ช่วยตัวเองได้บ้าง (ติดบ้าน) จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 3.76 และเป้นผู้สูงอายุประเภทที่ 3ต้องพึ่งพิงคนอื่น จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 1.41 และผู้ด้อยดอกาส จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 2.19 บางรายเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป้นปัญหาเรื้อรังและพิการตามมา เป็นภาระของผู้ดูแล ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลกระทบต่อรับบเศรษฐกิจของครอบครัวเนื่องจากผู้ดูแลบางคนต้องหยุดงานเพื่อมาดูแลผู้สูงอายุที่มีความพิการและเจ็บป่วยเรื้อรัง และปัญหาระดับประเทศชาติ คือภาระค่ารักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้นเมื่อเกิดความพิการและภาวะแทรกซ้อน จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่ ตำบลประกอบ จึงเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการ ชุมชนร่วม ห่วงใยผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ป่วยติดเตียง ขึ้น เพื่อป้องกันปัญหาแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยเรื้อรังและความพิการที่จะตามมา เสริมสร้าง พลัง กำลังใจแก่กลุ่มต่างๆ องค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชนตั้งแต่ตัวของผู้ป่วย ผู้ดูแล กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และกลุ่มจิตอาสาอื่นๆให้มีส่วนร่วมในการหาแนวทางในการดูแล การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน อันจะส่งผลให้ผ฿้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยติดเตียงและญาติ ได้รับการดุแลที่ตรงตามปัญหาและความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตและบริบทของชุมชนอย่างต่อเนื่องและระยะยาว เพื่อให้มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
-
1. 1 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน กลุ่มจิตอาสา ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยติดเตียง ในชุมชนตัวชี้วัด : การมีส่วนร่วมของชุมชน และกลุ่มจิตอาสาต่างๆ ในการร่วมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ป่วยติดเตียงขนาดปัญหา 188.00 เป้าหมาย 150.00
-
2. 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยดอกาส และผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัยหาสุขภาพออย่างครอบคลุมตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาส ได้เข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขขนาดปัญหา 638.00 เป้าหมาย 607.00
-
3. 3 เพื่อส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่องในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว และการดูแลระยะสุดท้ายในชุมชนตัวชี้วัด : เกิดชมรมผุ้สูงอายุและมีกิจกรรมที่ยั่งยืนในชุมชนขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
-
4. 4 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยติดเตียงตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยดอกาส และผู้ป่วยติดเตียง มีความพึงพอใจ ต่อการดำเนินกิจกรรมขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 90.00
- 1. กิจกรรมประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการรายละเอียด
จัดประชุมผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อสม. และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ 0.00 บาท - 2. สำรวจภาวะสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้สูงอายุรายละเอียด
- สำรวจสุขภาวะที่พึงประสงคืผู้สูงอายุ
- อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขอนามัยของผู้สูงวัย ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส แก่จิตอาสาในการร่วมดูแลกลุ่มเป้าหมาย
งบประมาณ 13,275.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
ตำบลประกอบ
รวมงบประมาณโครงการ 13,275.00 บาท
1 มีกลไกการขับเคลื่อนกิจกรรมการดุแลและเยี่ยมผุ้ป่วยที่มีสภาพติดบ้าน ติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส จากทั้งภาครัฐและชุมชน รวมถึงภาคีเครือข่าย อสม. และจิตอาสา ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน (คนประกอบไม่ทอดทิ้งกัน) 2 มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยราชการที่มีส่วยเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพกาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ 3 ชุมชนมีความรู้และสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง เหมาะสม
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ รหัส กปท. L5202
อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ รหัส กปท. L5202
อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................