แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการรณรงค์การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่
นางสุวดี จันกระจ่าง
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิะีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ดดยวัคซีนโดยบรรจุไว้ใต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 โดยการให้วัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา พบว่ามีความครอบคลุมการได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ประกอบกับผู้ปกครองขาดความรู้ ทัศนคติ ในการนำบุตรหลานมารับวัคซีน ประกอบกับพื้นที่ตำบลประกอบ มีอาราเขตติดต่อกับประเทสมาเลเซีย ทำให้การเคลื่อนย้ายที่อยุ่จากการประกอบอาชีพของประชากร ส่งผลให้การดำนินงานสร้างภูมิคุ้มกันโรคมีความครอบคลุมไม่บรรลบุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ หากไม่มีการดำเนินการที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดฌรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรง ทำให้มีแนวโน้มการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้มากยิ่งขึ้น
สำหรับในพื้นที่ตำบลประกอบ มีเด็ก 0-5 ปี จำนวน 418 คน ได้รับวัคซีนตามช่วงอายุ ดังนี้
1 เด็กต่ำกว่า1ปี จำนวน 98 คน
- ได้รับวัคซีนป้องกันวัณโรค จำนวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 100
- ได้รับวัคซีนไวรัสตับอัเสบ บี จำนวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 100
- ได้รับวัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิดอ (ครั้งที่ 3) จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 80.61
- ได้รับวัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 81.63
2 เด็ก 2 ปี จำนวน 115 คน
- ได้รับวัคซีน คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิดอ (ครั้งที่ 4) จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 52.17
- ได้รับวัคซีนไข้สมองอักเสบ จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 60.87
3 เด็กอายุ 3 ปี จำนวน 110 คน
- ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ ครั้งที่ 2 จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 58.18
- ได้รับวัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 60.91
4 เด็กอายุครบ 5 ปี จำนวน 95 คน
- ได้รับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ดปลิโอ ครั้งที่ 5 จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 49.47
ซึ่งจาาการได้รับวัคซีนครบของเด็กอายุ 0-5 ปีในพื้นที่ตำบลประกอบ พบว่า เด็กทั้งหมดจำนวน 418 คน ได้รับวัคซีนครบชุด เพียง 250 คน คิดเป็นร้อยละ 59.81 และได้รับวัคซีนไม่ครบชุดจำนวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 40.19 นับว่าเป็นความครอบคลุมที่ต่ำมาก เมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี ต้องได้รับวัคซีนครบชุด ทุกชนิดไม่น้อยว่าร้อยละ 95
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างภูมิคุ้งกันโรคให้กับเด็ก 0-5 ปี จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ขึ้นดดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมให้เด้กไทยมีสุขภาพสมบูรณ์ปลอดภัยจากดรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและเป็นบันใดสู่ความสำเร็จของการมีคุณภาพดีตามแนวทางโครงการเมืองไทยเข้มแข็ง
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น : 01/02/2018
กำหนดเสร็จ : 28/09/2018
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1 ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องของวัคซีน ตามเกณฑ์อายุ ฤทธิ์ข้างเคียงของวัคซีน การดูแลหลังได้รับวัคซีน
2 ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
3 เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์
4 เด็กอายุ 0-5 ปี ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน