กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลดเสี่ยง ลดโรค รู้ทัน ป้องกันสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว

กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2

บ้านน้ำลัด หมู่ที่ 2

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน นับว่าเป็นปรากฏการณ์ของปัญหาใหม่ที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่นๆอีกมากมาย เช่น ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และด้านสุขภาพ เป็นต้น หากขาดการดูแลเอาใจใส่ อาจส่งผลถึงวิถีชีวิตในที่สุด โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกระดูกและข้อ ตลอดจนปัญหาอุบัติเหตุต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการทำงาน อุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน ซึ่งโรคและการเกิดอุบัติเหตุต่างๆ เหล่านี้ยังเป็นปัญหาใหญ่ของสาธารณสุข
ทางกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านน้ำลัด มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุมการเฝ้าระวังป้องกันโรค จึงได้จัดทำโครงการลดเสี่ยง ลดโรค รู้ทัน ป้องกันสุขภาพ ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดี มีความรู้ในการดูแลตนเอง ลดการเกิดโรคของประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสุขภาพและได้รับบริการตรวจรักษา

ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสุขภาพและได้รับบริการตรวจรักษา

50.00 0.00
2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้เกี่ยวกับการลดเสี่ยง ลดโรค รู้ทัน ป้องกันสุขภาพ

ร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้เกี่ยวกับการลดเสี่ยง ลดโรค รู้ทัน ป้องกันสุขภาพ

50.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ขั้นเตรียมการ

ชื่อกิจกรรม
ขั้นเตรียมการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมวางแผนดำเนินการและจัดทำโครงการ
  2. ประสานงาน/ติดต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการลดเสี่ยง ลดโรค รู้ทัน ป้องกันสุขภาพ
  3. กำหนดแผนการดำเนินงานและประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการฯ
  4. จัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์/สถานที่ และเอกสารต่างๆที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แผนการดำเนินงานโครงการลดเสี่ยง ลดโรค รู้ทัน ป้องกันสุขภาพ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์/สถานที่ และเอกสารต่างๆที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16080.00

กิจกรรมที่ 2 ขั้นดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
ขั้นดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการลดเสี่ยง ลดโรค รู้ทัน ป้องกันสุขภาพ
  2. ให้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ตามแผนของโครงการฯ
  3. สรุปและประเมินผลโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
21 กรกฎาคม 2564 ถึง 15 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,080.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนได้รับการจัดการบริการด้านสาธารณสุข การจัดบริการเสริมสร้าง การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกมากขึ้น
2.ประชาชนให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตนเอง


>