กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ Buddy Home Care เพื่อนคู่ใจ ผู้ป่วยจิตเวช

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ

โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

1. นางมาเรียม อิสลามธรรมธาดาพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
2. นส.ฮาชีมีวาเต๊ะพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
3. นส.ต่วนมะสักรี รายอคาลีพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
4. นายฟุรกอน อาแวกาจินักจิตวิทยา
5. นส.ฟารียาลนิฮะ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคจิตเวชเป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ ความคิด และการแสดงออกที่รุนแรงเมื่อมีผู้ป่วยในครอบครัวและชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือผู้นำชุมชน อสม. และญาติต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการให้ความช่วยเหลืออย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อฟื้นฟูผู้ป่วยให้สามารถอยู่ในครอบค

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อบูรณาการสร้างสุขภาพจิตดีสู่ตำบลโดยชุมชนมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย

ร้อยละ 100 มีการจัดตั้งกลุ่ม Buddy ในชุมชน ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชอาการกำเริบซ้ำลดลง ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ

0.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 103
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 93
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 12/07/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การติดตามออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
การติดตามออนไลน์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลวิธีดำเนินงาน/กิจกรรม
๑.จัดทำโครงการขออนุมัติ ๒.แต่งตั้งคณะทำงาน ๓.จัดประชุมเจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรม ๔.ประสานพื้นที่เครือข่ายสร้างสุขภาพ 5. ดำเนินการจัดโครงการโดยให้ความรู้โรคทางจิตเวชให้แก่เครือข่ายและผู้ดูแล กิจกรรมที่ 1 -การจัดตั้งระบบเฝ้าระวังผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน -อบรมแกนนำอสม.พัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน -การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ -รวบรวมข้อมูลให้กับแกนนำเพื่อวางแผนการดูแลโดยแบ่งกลุ่มผู้ป่วยตามความรุนแรงของอาการ -จัดกลุ่มผู้ดูแลโดยแกนนำชุมชน มีดังนี้ ผู้นะชุมชน/ผู้นำศาสนา/อสม. ตามหลังคาเรือนที่ผู้ป่วยอาศัย -จัดทำเอกสารติดตาม ตามแบบประเมิน 9 ด้าน และพฤติกรรมเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดการกลับมาเป็นซ้ำ -เพื่อการส่งข้อมูลเป็นระยะเวลาที่กำหนด -ออกแบบการประเมินโดยการทำแบบประเมินออนไลน์ผ่านคิวอาร์โค๊ช -ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชอาการกำเริบซ้ำลดลง ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนได้รับการติดตาม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32098.00

กิจกรรมที่ 2 คัดกรองการสารเสพติดในผู้ป่วยจิตเวช

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองการสารเสพติดในผู้ป่วยจิตเวช
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 2 คัดกรองสารเสพติดในผู้ป่วยจิตเวช -ชี้แจงแกนนำสุขภาพ/ผู้ดูแล วัตถุประสงค์ในการคัดกรองการใช้สารเสพติด -อธิบายความสำคัญของการตรวจสารเสพติด/คัดกรองการบุหรี่ -ให้ความรู้การใช้สารเสพติดมีผลต่อการรักษา -คัดกรองตรวจสารเสพติด/คัดกรองการบุหรี่ ผู้ป่วยจิตเวชที่เข้าถึงการรักษาแล้ว -สรุปผลการตรวจสารเสพติด/คัดกรองการบุหรี่ผู้ป่วย เพื่อปรับแผนการรักษา/ส่งต่อ ต่อไป

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชได้รับการตรวจสารเสพติด ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชมีสารเสพติดในปัสสาวะได้รับการบำบัดที่คลินิกยาเสพติด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10130.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 42,228.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เกิดการบูรณาร่วมกันสร้างสุขภาพจิต สู่ชุมชน เพิ่มความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
2.สามารถสร้างกระแสเพิ่มความตระหนักในชุมชน
3.เกิดนวัตกรรมวิชาการด้านสุขภาพจิตสู่ชุมชน
4.กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าร่วมโครงการ Buddy Home Care เพื่อนคู่ใจ ผู้ป่วยจิตเวช ร้อยละ80


>