กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

การป้องกันโรคไข้เลือดออก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม

โรงเรียนวัดท่าข้าม

1.นางประสานทอง จันทมณี
2.นางอรุณีศรีสุวรรณ
3.นางนิภาวรรณจันทร์ภาพ
4.นายณัชพล ศิริพันธ์
5.นางสาวจิรัชญาฉันทอุไร

โรงเรียนวัดท่าข้าม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สุขภาพของผู้เรียนเรียนเป็นสิ่งสำคัญต่อการพัฒนาด้านการเรียนรู้เป็นอย่างยิ่งผู้เรียนมีสุขภาพดีสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้นโรงเรียนต้องให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยครูประจำชั้นทุกชั้นจะต้องให้ความสำคัญดูแลผู้เรียนตั้งแต่เท้าจนถึงศีรษะ นักเรียน ครูทุกคนทุกชั้นเรียน จะต้องแนะนำเสนอแนะให้ผู้เรียนรู้จักดูแลสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้ผู้เรียน เรียนรู้อย่างมีความสุข ผู้เรียนทุกคนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้เป็นอย่างดีและมีความปลอดภัยห่างไกลจากโรคไข้เลือดออก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

วัตถุประสงค์
ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียน จำนวน 21 คน ทำสเปรย์กันยุงใช้ในโรงเรียนและนำความรู้กลับไปทำที่บ้านได้
ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีความปลอดภัยและห่างไกลไข้เลือดออก

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 21
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 15/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ป้องกันโรคไข้เลืออดออก

ชื่อกิจกรรม
ป้องกันโรคไข้เลืออดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

. จัดทำและเสนอขออนุมัติโครงการ 2. ประชุมคณะกรรมการ และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ     3.1. ทำสเปรย์กันยุงใช้ในโรงเรียนและนำความรู้กลับไปทำที่บ้าน 4. สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานของโครงการ

  • ค่าอุปกรณ์ในการทำสเปรย์กันยุง (เอทิลแอลกอฮอล์,การบูร,ขวดสเปรย์,ผ้าขาวบาง,โหลแก้วพร้อมฝาปิด) จำนวน 5 ชุดๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 จำนวน 21 คนสามารถทำสเปรย์กันยุงใช้ในโรงเรียนและนำความรู้กลับไปทำที่บ้านได้ นักเรียนทุกคนมีความปลอดภัยและห่างไกลไข้เลือดออก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนสามารถทำสเปรย์กันยุงใช้ในโรงเรียนได้และนำความรู้กลับไปทำที่บ้านได้
2. นักเรียนมีความปลอดภัยและห่างไกลไข้เลือดออก


>