กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา

องค์การบริหารส่วรตำบลลางา

ตำบลลางา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง

 

45.00
2 ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

 

45.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2021

กำหนดเสร็จ 31/07/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ชื่อกิจกรรม
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นเตรียมการ
1. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการจากคณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ได้ 2. จัดประชุม ชี้แจง ระดมความคิดเห็น จากทุกภาคส่วน แจ้งแนวทางและมาตรการในการดำเนินงาน แก่ทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง ทุกระดับ
3. วิเคราะห์สถานการณ์และแจ้งเตือน 4. เตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ

ขั้นดำเนินการ/ดำเนินการตามกิจกรรม ดังนี้ 1. จัดให้มีจุดคัดกรอง ประชาชนเข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการ(องค์การบริหารส่วนตำบลลางา) 2. จัดให้มีเจลล้างมือหน้าห้องเรียนทุกห้อง
3. จัดให้มีเจลล้างมือหน้าหน่วยงาน(อบต.)อย่างเพียงพอ
4. จัดให้มีหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยสำรอง สำหรับประชาชนในพื้นที่ม.1-ม.7 บุคลากรและผู้รับบริหาร
5. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ด้านการป้องกันตนเองจากโรคระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการปฏิบัติตนเองตลอดเวลาที่อยู่ในชุมชน
6. จัดทำจุดเพื่อเว้นระยะห่างทางสังคม
ขั้นสรุป 1. ประเมินผลการทำงานของโครงการ
2. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
92000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 92,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-ประชาชนกลุ่มและบุคลากรทุกคน ได้รับความรู้ เข้าใจความสำคัญในการป้องกันเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19)
-ประชาชนกลุ่มและบุคลากรทุกคนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19)
-ประชาชนกลุ่มและบุคลากรและผู้มาติดต่อหน่วยงาน (อบต.ลางา)ได้รับการคัดกรองทุกคน
-ประชาชนกลุ่มและบุคลากรและผู้มาติดต่อหน่วยงาน(อบต.ลางา) รู้สึกปลอดภัย ว้วางใจในกระบวนการคัดกรองและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19)


>