กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดแยกขยะและการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน เทศบาลตำบลทะเลน้อย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย

เทศบาลตำบลทะเลน้อย

หมู่ที่ 1 - 10 ตำบลทะเลน้อย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะให้กับกลุ่ม อสม.และแกนนำชุมชน
  1. ผู้อบรมมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ร้อยละ 90
0.00
2 เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะมาใช้ได้อีกในอนาคต
  1. ชุมชน/หมู่บ้าน มีการคัดแยกขยะมูลฝอยชุมชนที่ต้นทาง ร้อยละ 50
0.00
3 เพื่อลดปริมาณขยะเปียกที่นำไปกำจัด ณ หลุมขยะเทศบาลตำบลทะเลน้อย
  1. มีอาสาสมัครต้นแบบในการทำปุ๋ยอินทรีย์ภายในครัวเรือน สามารถลดขยะเปียกได้ ร้อยละ 50
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่อง การคัดแยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่อง การคัดแยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1.๒ X ๒.๔ เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท        เป็นเงิน  1,000 บาท
  3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน  1,600   บาท
  4. ค่าอุปกรณ์ประกอบการอบรม เรื่อง การทำถังขยะอินทรีย์ฝังดิน

- ถังแบบมีฝาปิด ขนาดบรรจุ 10 ลิตร จำนวน ๑๕ ใบๆ ละ ๒00 บาท
เป็นเงิน ๓,000 บาท 5. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน ๒ คนๆละ ๒ ชั่วโมงๆ ละ ๖00 บาท                    เป็นเงิน  ๒,๔00 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8450.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

. ค่าป้ายรณรงค์การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ขนาด 1.๒ X ๒.๔ เมตร จำนวน ๑0ป้ายๆละ 450 บาท  เป็นเงิน  4,500  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4500.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดจุดบริการคัดแยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมจัดจุดบริการคัดแยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าจัดซื้อถังขยะพลาสติก ขนาด 60 ลิตร จำนวน 3 ใบ พร้อมแท่นวาง จำนวน ๕ ชุดๆ ละ ๘,๕00  บาท                                                                                        เป็นเงิน ๔๒,๕00.-  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
42500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 55,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สร้างความมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะ มาใช้ประโยชน์
อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
2. การเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะเข้ามาใช้ได้อีกในอนาคต
3. ปริมาณขยะที่นำไปกำจัด ณ หลุมขยะเทศบาลตำบลทะเลน้อยมีปริมาณ ลดลง และสามารถลดปริมาณขยะที่ต้อง ฝังกลบ ลดขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะชุมชนลงได้
๔. สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
๕. ประชาชนตำบลทะเลน้อยมีสุขภาวะที่ดี


>