กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทะเลน้อย

1. นางณิชนันทน์ฉิมสุด
2. นางลำยองชุมจันทร์
3. นางประพิศเพชรรักษ์
4. นางสมมุ่ง นิ่มแก้ว
5. นางดวงใจ คงดี

พื้นที่หมู่ที่ 1 - 10 ตำบลทะเลน้อย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 2,772
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ครอบคลุม ชุมชน วัด บ้าน โรงเรียน และสถานที่ราชการ 2. อสม.สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์แจกทรายอะเบท ให้คำแนะนำประชาชนเรื่องโรคติดต่อและภัยสุขภาพ สร้างความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยแม

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ครอบคลุม ชุมชน วัด บ้าน โรงเรียน และสถานที่ราชการ 2. อสม.สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์แจกทรายอะเบท ให้คำแนะนำประชาชนเรื่องโรคติดต่อและภัยสุขภาพ สร้างความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยแม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน 2,772 แผ่นๆ ละ 50 สตางค์ เป็นเงิน 1,386 บาท
  2. ค่าไฟฉายคาดหัว (Head Light) แบบหัวคู่ ใช้สำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน 85 อันๆ ละ 225 บาท เป็นเงิน 19,125 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20511.00

กิจกรรมที่ 2 3. พ่นละอองฝอยควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาก่อนเปิดภาคเรียน

ชื่อกิจกรรม
3. พ่นละอองฝอยควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาก่อนเปิดภาคเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าน้ำมันแก๊สโซฮอร์ 95 จำนวน 300 ลิตรๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
  2. ค่าน้ำมันเครื่องทูที จำนวน 10 ลิตรๆ ละ 110  บาท  เป็นเงิน  1,100  บาท
  3. ค่าตอบแทนการพ่นละอองฝอยในสถานการศึกษา จำนวน 5 แห่งๆ ละ 2 คนๆ ละ 200 บาท จำนวน 2 ครั้ง  เป็นเงิน 4,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12600.00

กิจกรรมที่ 3 4. พ่นละอองฝอยควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตามแผน SRRT ในพื้นที่เมื่อเกิดโรคระบาด

ชื่อกิจกรรม
4. พ่นละอองฝอยควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตามแผน SRRT ในพื้นที่เมื่อเกิดโรคระบาด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทนพ่นละอองฝอย case ผู้ป่วย ครั้งละ 200 บาท จำนวน 3 ครั้ง (จำนวนผู้ป่วยปี 63 จำนวน 11 ราย) เป็นเงิน 6,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,711.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เลือดไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
2. ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและ มีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
3. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
4. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการลำลายแหล่างเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง


>