กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส

สำนักปลัด อบต.ตันหยงมัส

ตำบลตันหยงมัส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง

 

40.00
2 จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถมาช่วยเหลือคนในชุมชนได้

 

7.00

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในเขตตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส กำลังเพิ่มมากขึ้นอย่างน่าเป็นห่วง ซึ่งตามข้อมูลจาก ศูนย์ EOC COVID-19 จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ของกองสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัส ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2564 ที่ผ่านมาตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลกใน 38 ประเทศ ข้อมูลตั้งแต่ 5 มกราคม –26 กุมภาพันธ์ 2563 (07.00น.) พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน 80,427 ราย เสียชีวิต 2,712 ราย ส่วนประเทศจีนพบผู้ป่วย 77,666 ราย เสียชีวิต 2,664 รายสำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรักษาในโรงพยาบาล16ราย กลับบ้านแล้ว 24 ราย คิดเป็นร้อยละ 60ของผู้ป่วยในประเทสไทย รวมสะสม 40ราย (ข้อมูลจาก : รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าวโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563)
ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ห้างสรรพสินค้า ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆเขตในพื้นที่ความรับผิดชอบของ อบต./เทศบาล......................................
อบต./เทศบาล/รพสต.......................... รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

40.00 90.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน

จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนเพิ่มขึ้น

7.00 24.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 23/08/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การรณรงคฺ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคนา 2019 (COVID 19)

ชื่อกิจกรรม
การรณรงคฺ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคนา 2019 (COVID 19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิล รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขนาด 1 x 3 ตรม.ๆละ 250 บาทจำนวน12ป้ายเป็นเงิน9,000บาท
  • ค่าใช้จ่ายในการจัดทำคู่มือ การดูแลตนเอง ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการฉีดวัคซีน จำนวน500 ชุด ๆ ละ 60 บาทเป็นเงิน30,000บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
  • ประชาชนมีทัศนคติที่ดี ในเรื่องของการฉีดวัคซีน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
39000.00

กิจกรรมที่ 2 อบรม ให้ความรู้แกนนำ จิตอาสา ในการช่วยเหลือคนในชุมชน ในห้วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)

ชื่อกิจกรรม
อบรม ให้ความรู้แกนนำ จิตอาสา ในการช่วยเหลือคนในชุมชน ในห้วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้แกนนำ จิตอาสา เพื่อช่วยเหลือคนในชุมชนในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID 19) มีค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน 2400 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันจำนวน 24 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1200 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน24คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 1200 บาท 4.ค่าเอกสารประกอบการประชุมจำนวน 24 ชุด ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน1200 บาท 5.ค่าวัสดุอุุปกรณ์ (แฟ้มเอกสาร, สมุด, ปากกา ฯลฯ) จำนวน 24 ชุด ๆ ละ 50 บาทเป็นเงิน 1200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 สิงหาคม 2564 ถึง 30 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดแกนนำ จิตอาสา ที่จะทำหน้าที่ช่วยเหลือคนในชุมชน ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID 19)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>