กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเพิ่มแหล่งอาหารสุขภาพในชุมชน(กลุ่มบ้านโคกเมา)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

คณะกรรมการศูนย์เรีนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตำบลชุมพล(กลุ่มบ้านโคกเมา)

1.นางเพียงเพ็ญ คงแสง
2.นายจำรัส หมื่นเดช
3.นางนงลักษณ์ ศรีอนันต์
4.นายจำเริญสุภาพาส
5.นายวีรวัฒน์ บัวศรี

กลุ่มบ้านโคกเมา(โคกหนองนา)หมู่ที่ 1ตำบลชุมพล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

25.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

25.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 31/05/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมส่งเสริมชุมชนปลูกพืชผักสวนครัวแก่ตัวแทนครัวเรือน เพื่อแก้ปัญหาอาหารโภชนาการและอาหารปลอดภัย จำนวน20 คน รายละเอียดกิจกรรม 1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการ โดยหัวหน้าโครงการ 2. การเตรียมดิน การทำปุ๋ย การกำหนดกติกา การแบ่งกลุ่มเฝ้าระวัง/ควบคุมเพื่อการผลิตผักปลอดภัยโดยวิทยากร......................... 3. จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผล 4. แจกเมล็ดพันธุ์แก่สมาชิก รายละเอียดประมาณ 1.ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x3 ม.ตร.ม.ละ150 บาท เป็นเงิน 450บาท 2.ค่าอาหารว่าง 20คนๆละ 1มื้อๆละ30 บาท เป็นเงิน 600บาท 3.ค่าจัดเตรียมสถานที่อบรม (โต๊ะเก้าอี้ เครื่องขยายเสียง)เป็นเงิน 1,200บาท 5.ค่าตอบแทนวิทยากร 2 ชม.ๆละ 600บาท เป็นเงิน 1,200 บาท 6.ค่าพาหนะเดินทางภายในอำเภอ(เหมาจ่าย หัวละ 200 บาท)เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2022 ถึง 11 ธันวาคม 2021
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต ผู้ผ่านการอบรม20คน ผลลัพธ์ ผู้ผ่านการอบรมมีความรู้หลักการปลูกผักปลอดสารพิษ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5450.00

กิจกรรมที่ 2 สาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ

ชื่อกิจกรรม
สาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ(เกษตรอินทรีย์)จำนวน1แปลงสำหรับจ่ายเป็น 1.ค่าจ้างจัดทำรถเข็นสำหรับติดตั้งเครื่องสูบน้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นเงน 3,550บาท 2.ค่าจัดซื้อวัสดุสำหรับทำระบบน้ำ เช่นท่อ PVC เป็นเงิน1,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 ธันวาคม 2021 ถึง 31 มีนาคม 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต มีแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ ผลลัพธ์ สร้างแรงจูใจให้ราษฎรในชุมชนหันมาปลูกผักปลอดสารเคมี เพิ่มพื้นที่แหล่งอาหารปลอดสารพิษในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4550.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการระบบอาหารการเพิ่มแหล่งผลิตอาหารสุขภาพ การมีอาหารคุณภาพ ปลอดภัย และ การใช้ประโยชน์


>