กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ UNDP อบต.แว่้ง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูกา

1 นางสาวมูรณี หะมิ ประธาน
2 นางสุนีย์ ดือเลาะ เลขานุการ
3 นางสาวซัลมา ดิง กรรมการ
4 นางสาวฤดีมาศ อาเซ็ง กรรมการ

ม.6 บ้านบาลูกาต.แว้งอ.แว้ง จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม

 

9.00
2 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

15.00

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือเป็นสถานศึกษา ตามมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ซึ่งเป็นภารกิจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับผิดชอบให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์ และส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ให้เด็กเล็กมีความพร้อมทุกๆด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาในส่วนของการส่งเสริมสุขภาพของเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับเด็กก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของภาระกิจดั่งกล่าว
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูกา สังกัดกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง จึงได้ทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลุกา ซึ่งถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นในการดูแลเด็กปฐมวัยในมีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้าน และยังเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กปฐมวัยร่วมกับผู้ปกครอง และชุมชน ตามแผนพัฒนาการศึกษา 5 ปี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยโดมีเป้าหมายเพื่อลดจำนวนเด็กที่ปัญหาฟันผุเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ ในปี 2563 จากเดิมให้น้อยลงได้มากที่สุดเพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กปฐมวัยในศพด.และสามารถต่อยอดถึงเด็กที่อยู่ในชุมชนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลด เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม  ลดลง

9.00 5.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

15.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 71
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครอง 15

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/12/2021

กำหนดเสร็จ 10/03/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 “ กิจกรรม หนูสมส่วน ร่งกายสดใส”

ชื่อกิจกรรม
“ กิจกรรม หนูสมส่วน ร่งกายสดใส”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ครู และเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบ ติดตามชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง ทุกๆ เดือน ๆละ ๑ ครั้ง และ บันทึกข้อมูลลงโปรแกรม เพือเปรียบเทียบก่อนหลัก -ติดตามเด็กที่มีถาวะผอม ในศพด.ที่บ้าน เพื่อให้ความรู้ผู้ปกครอง -เอกสารการประเมิน  แบบบันทึกเปรียบเทียบก่อน-หลัง ค่าใช้จ่าย เครื่องชั่งน้ำหนัก  แบบดิจิตอล จำนวน ๒ เครื่อง จำนวน 1,300  บาท  เป็นเงิน  2,600 บาท ที่วัดส่วนสูงแบบสเกลละเอียด จำนวน 2 อัน  จำนวน 700 บาท  เป็นเงิน  1,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
26 มกราคม 2565 ถึง 27 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

การบันทึกข้อมูล เปรียบเทียบก่อน - หลัง เด็กที่ภาวผอม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 2 เกษตรใน ศพด.บ้านบาลุูกา เพื่อแก้ปัญหาเด็กที่มีภาวะผอม โดยภูมิปัญญาท้องถิ่น

ชื่อกิจกรรม
เกษตรใน ศพด.บ้านบาลุูกา เพื่อแก้ปัญหาเด็กที่มีภาวะผอม โดยภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ใช้สถานที่บริเวณว่างข้างๆศพด.เพื่อจัดเตรียมแปลงเกษตร เตรียมดิน ปุ๋ย และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็น โดยเชิญภูมปัญญาท้องถิ่นมาเป็นครูสอนการป,ุกผัก รวมกับผู้ปกครองที่จะทำครัวเรือนต้นแบบการดูแลผักที่ปลูกจะแบ่งกลุ่มทำเวร เด็กร่วมกับครู และครัวเรือนต้นแบบ ค่าใช้จ่าย
ค่าสมนาคุณวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น1,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม๒ มือ เป็นเงิน 1,500บาท ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 1,500 บท ค่าพันธูผักชนิดต่างๆเป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มกราคม 2565 ถึง 10 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผักปลอดสารพิษใช้ประกอบอาหารกลางวันให้เด็กในศพด. ครัวเรือนต้นแบบการทำเกษตรครัวเรือนใช้เอง ลดปัญหาเด็กที่มีภาวะผอมในซพด.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ลดจำนวนเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ (ผอม )
เด็กมีผักปลอดสารพิษที่ปลูกเองในศพด.
เกิดครัวเรือนต้นแบบในการใช้ผักปลูก ใช้เองในครัวเรือนที่เด็กมีภาวะฏชนาการ (ผอม)


>