กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคเบาหวานโรคเบาหวานและความดันโลหติสูง รพ.สต.บ้านลำกะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขาพตำบลบ้นลำกะ

1.นางนัยวนาส่งเล็ก ผอ.รพ.สต.บ้านลำกะ

หมู่ที่ 1,3,5,6,7,10,11 ตำบลชุมพล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

60.00

โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประเทศไทย ในแง่ภาวะการป่วยและอัตราการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร(อายุ 30-60 ปี) โรคไม่ติดต่อที่พบ คือโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ ปี 2557 ถึง ปี 2559 และเริ่มคงที่ ปี 2561(ข้อมูลจากรายงานสถาการณ์โรค NCDs กรมควบคุมโนคไม่ติดต่อ)
ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะซึ่งผลการคัดกรองปีงบประมาณ 2564 กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2,000 คน คัดกรอง 1,883 คน มีภาวะเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 345 คน ร้อยละ 18.37 กลุ่มสงสัยป่วย30 คนร้อยละ1.59 พบผู้ป่วยรายใหม่ 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.00 กลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 1,691 คน คัดกรอง มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 117 คนคิดเป็นร้อยละ 7.41พบกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน46 คนส่งต่อพบแพทย์ 13 รายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ 5 ราย และผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 190 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 331 คนกลุ่มสงสัยป่วยถ้าไม่ได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและไม่ได้รับการเฝ้าระวังติดตามอย่างต่อเนื่องจะกลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ มีความประสงค์จะจัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2565 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชุมพลเป็นเงิน 22,500 บาท (สองหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน)เพื่อเฝ้าระวังใน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วย เพื่อให้ทุกกลุ่มมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยเน้นเฝ้าระวังกลุ่มสงสัยป่วยเพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

60.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1) ค่าจัดซื้อชุดตรวจน้ำตาลในเลือดพร้อมเข็มจำนวน100ชุดราคาชุดละ 200บาท เป็นเงิน20000 บาท
2) ค่าจัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตจำนวน1 เครื่องเป็นเงิน2,500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 มีนาคม 2565 ถึง 8 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต มีชุดตรวจเบาหวานเพียงพอในการบริการตรวจเชิงรุก ผลลัพธ์ ได้กลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22500.00

กิจกรรมที่ 2 ติดตามเฝ้าระวัง

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเฝ้าระวัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 เมษายน 2565 ถึง 8 เมษายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต
กลุ่มเสี่ยงเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้ายละ  80 ผลลัพธ์ ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับยา

ชื่อกิจกรรม
ส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับยา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเสี่ยงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับยา ขึ้นทะเบียนเป็นรายใหม่

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามให้คำแนะนำรายบุคคล

ชื่อกิจกรรม
ติดตามให้คำแนะนำรายบุคคล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามให้คำแนะนำรายบุคคลในการควบคุมโรค นัดรับยาคลินิกโรคเรื้อรัง

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิตจำนวนผู้ได้รับการติดตามดูแลสุขภาพผลลัพธ์ประชนมีสุขภาพที่ดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพเชิงรุก


>