กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะโละแมะนา ประจำปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา

องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้ดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ได้สนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหากำไร ดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา เกิดขึ้นตามแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวโดยได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ได้ดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 ซึ่งในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 โดยแต่ละกองทุนฯนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาจัดทำเป็นระเบียบกองทุนสำหรับใช้ในการบริหารจัดการกองทุนต่อไป ทั้งนี้ นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว ปัจจัยในการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ยังเกิดขึ้นจากคณะบุคคลอีกหนึ่งคณะตามที่กล่าวข้างต้น นั้นคือ คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะโละแมะนา อนุกรรมการฯ กล่าวคือการ การที่คณะกรรมาการบริหารกองทุนมีความรู้มีความสามารถเข้าถึง เข้าใจหลักการบริหารจัดการกองทุน ก็จะทำให้กองทุนแห่งนั้นดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ประกอบกับ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการบริหารกองทุน ก็ต้องมีเจ้าหน้าทีดำเนินงานกองทุนฯ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่พร้อมในการสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพไปพร้อมกันดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะโละแมะนา จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะโละแมะนา ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ

มีจำนวนคณะกรรมการการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯโครงการด้านสุขภาพ(คน)

100.00
2 2.เพื่อเพิ่มพูมความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารกองทุนโดยใช้หลักเกณฑ์ต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

100.00
3 3.เพื่อให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารจัดการทองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ(คน)

100.00
4 4.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ (ครั้ง 1/2565)

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ (ครั้ง 1/2565)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดให้เกิดการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง ต่อปี(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28800.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดให้เกิดการประชุมคณะอนุกรรมรกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง ต่อปี(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6300.00

กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯอนุกรรมการกองทุน ค่าใช้จ่ายในการประชุมให้ความรู้โดยทีมพี่เลี้ยง ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ สปสช. การอบรมเกี่ยวกับรายละเอียดกองทุนฯ (ค่าเดินทางไปราชการ ค่าวิทยากร ค่าอาหารว่าง ค่าอาหารกลางวัน ค่าเอกสาร ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯอนุกรรมการกองทุน ค่าใช้จ่ายในการประชุมให้ความรู้โดยทีมพี่เลี้ยง ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ สปสช. การอบรมเกี่ยวกับรายละเอียดกองทุนฯ (ค่าเดินทางไปราชการ ค่าวิทยากร ค่าอาหารว่าง ค่าอาหารกลางวัน ค่าเอกสาร ฯลฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายในการประชุมให้ความรู้โดยทีมพี่เลี้ยง ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ สปสช. การอบรมเกี่ยวกับรายละเอียดกองทุนฯ (ค่าเดินทางไปราชการ ค่าวิทยากร ค่าอาหารว่าง ค่าอาหารกลางวัน ค่าเอกสาร ฯลฯ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19000.00

กิจกรรมที่ 4 การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานกองทุนฯ (ค่าจัดซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ตู้เอกสาร กล้องถ่ายรูป วัสดุสำนักงาน ฯลฯ

ชื่อกิจกรรม
การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานกองทุนฯ (ค่าจัดซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ตู้เอกสาร กล้องถ่ายรูป วัสดุสำนักงาน ฯลฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานกองทุนฯ (ค่าจัดซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ตู้เอกสาร กล้องถ่ายรูป วัสดุสำนักงาน ฯลฯ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 5 อาหารว่างและเครื่องดื่ม

ชื่อกิจกรรม
อาหารว่างและเครื่องดื่ม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อาหารว่างและเครื่องดื่ม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาหารว่างและเครื่องดื่ม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8750.00

กิจกรรมที่ 6 จัดซื้้อวัสดุคอมพิวเตอร์

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้้อวัสดุคอมพิวเตอร์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดซื้้อวัสดุคอมพิวเตอร์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8850.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมคณะอนุกรรมการ(LTC)

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการ(LTC)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดให้เกิดการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง ต่อปี(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงาน(LTC)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 85,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 มีการประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้งเพื่อโครงการที่เสนอได้รับ การพิจารณาอย่างน้อย 80% 2 มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนร่วมกับทีมพี่เลี้ยง อย่างน้อย 1 ครั้งหรือร่วมกิจกรรมของสปสช.อย่างน้อย 1 ครั้ง 3 วัสดุสำนักงานฯ สำหรับการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกซื้อตามแผนงานที่วางไว้ 4 จัดทำแผนสุขภาพชุมชนปี 2564 5 ครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุนฯ ถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้ 6 ได้จ้างเหมาบริการตามงานและกิจกรรมที่วางไว้


>