กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมอาหารเพื่อสร้างอัจฉริยภาพ และสุขภาวะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด

ศพด.ปูยุด และศูนย์ TADIKA

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผู้ปกครองมีอาชีพรับจ้างเป็นหลัก ทำให้ไม่ทันต่อการจัดเตรียมอาหารเช้าที่มีคุณภาพ

 

30.00
2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม

 

3.84

องค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด มีพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 7 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 7,175 คนมีจำนวนครัวเรือน 1,780 บาท มีครัวเรือนที่ยากจนที่อยู่ในบัญชีซากาต (บัญชีผู้ยากจน) จำนวน 50 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.0 และในครัวเรือนดังกล่าวเด็กมีภาวะทุพโภชนาการ ได้แก่ เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี สูงดีตกเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 32.0และน้ำหนักตกเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 12.0 ปัจจัยที่ทำให้เด็กมีภาวะทุพโภชนาการต่ำ ได้แก่ คุณภาพการดูแลทารกในหญิงตั้งครรภ์และปัจจัยด้านการอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครอง ปัจจัยการศึกษาและความรู้ ปัจจัยด้านตัวเด็ก เช่น อายุ การดื่มนมแม่ในช่วง 4 เดือนแรก เพศ น้ำหนักแรกคลอด พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็ก และภาวะเศรษฐกิจครอบครัว

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในกลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี ในพื้นที่ตำบลปูยุด

เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี มีโภชนาการตามเกณฑ์

3.84 3.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 31/07/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เก็บข้อมูล ประเมินร่างกายก่อน-หลัง

ชื่อกิจกรรม
เก็บข้อมูล ประเมินร่างกายก่อน-หลัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช่งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 31 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีข้อมูลการเฝ้าระวัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ผู้ปกครองโปรแกรมอาหาร และส่งเสริมอาหารเพื่อสร้างอัจฉริยภาพ และสุขภาวะ

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้ผู้ปกครองโปรแกรมอาหาร และส่งเสริมอาหารเพื่อสร้างอัจฉริยภาพ และสุขภาวะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 อบรมโปรแกรมอาหาร
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 30 คน  x 1 วัน x 2 มื้อ X 25 บาท  เป็นเงิน 1,500 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน  x 1 วัน x 1 มื้อ x 50 บาท     เป็นเงิน 1,500 บาท 3.ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน  x 1 วัน x 6 ชั่วโมง x 300 บาท     เป็นเงิน 1,800 บาท 4. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 3 ตร.ม.x 200 บาท x 1 แผ่น         เป็นเงิน 600 บาท

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมอาหารเพื่อสร้างอัจฉริยภาพ และสุขภาวะ ค่าอาหารเพื่อสร้างอัจฉริยภาพ และสุขภาวะ มื้อเช้า จำนวน 40 คน x 10 บาท x 100 วัน เป็นเงิน 40,000 บาท

กิจกรรมที่ 3 ลงพืนที่ติดตาม ประเมินผล -ไม่ใช่งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กมีภาวะโภชนาสมส่วน และมีพัฒนาการสมวัย มีผลการเรียนที่ดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
45400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 45,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปีสามารถเข้าถึงสารอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์


>