กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและแแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองบ้านพรุ

ในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

 

35.00
2 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรีย

 

0.00
3 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า

 

80.00
4 ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

 

50.00
5 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

 

25.00

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ไว้ 5 ประเภท ซึ่งได้ระบุให้ประเภทที่ 5 ใช้ในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วนของเทศบาลเมืองบ้านพรุ ด้านการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย สาธารณภัย ภัยพิบัติต่าง ๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทำให้การแพร่ระบาดของโรคสายพันธุ์ต่าง ๆ และการเกิดปัญหาหมอกควันจากประเทศอินโดนีเซีย ทำให้เกิดหมอกควันในจังหวัดสงขลาอย่างหนาแน่น ส่งผลให้ประชาชนเริ่มมีอาการแสบตา และหายใจติดขัด ปัญหาการเกิดน้ำท่วมอำเภอหาดใหญ่ในอดีตตั้งแต่ปี 2376-2553 นับจำนวน 14 ครั้ง ส่งผลให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามมา ซึ่งโรคที่ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษจำนวน 5 โรค ได้แก่ ตาแดง ฉี่หนู ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง มือ เท้า ปาก การเกิดโรคติดต่อในโรงเรียนในช่วงหน้าฝนมักพบโรคมือเท้าปากในปี 2560 จังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยมากที่สุดในภาคใต้จำนวน 390 ราย แนวโน้มการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อาจจะมีเพิ่มขึ้นในอนาคตเนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป เทศบาลเมืองบ้านพรุ เป็นพื้นที่หนึ่งที่เคยประสบภัยพิบัติจากภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและผลกระทบจากโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายด้านสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชน จึงได้ดำเนินโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เพื่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้าง และให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อลดผลกระทบจากการเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ ด้านสาธารณสุข

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(ร้อยละ)

35.00 50.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ)

50.00 60.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)

25.00 50.00
4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้มาลาเรีย (ร้อยละ)

0.00 0.00
5 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า

การสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(ร้อยละ)

80.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเตรียมการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมความพร้อม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้แผนการดำเนินงานและทำความเข้าใจกับทีมงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มียาและเวชภัณฑ์ทันกับสถานการณ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
440000.00

กิจกรรมที่ 3 สื่อและประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
สื่อและประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าไวนิล 2.ค่าสปอตวิทยุ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้สื่อประชาสัมพันธ์สำหรับประชาสัมพันธ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 4 จัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นและเกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นและเกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วัสดุอุปกรณ์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 500,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>