กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวทางกายด้วยจังหวะเพลง(บาสโลบ) ตำบลชุมพล

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

ชมรม อสม.ตำบลชุมพล

1.นายสุรกฤษฎิ์ บุญญาพิทักษ์
2.นางศิริ นมรักษ์
3. นางฤทัยปรียา ด้วงเอียด
4. นางอุบล ชูเอียด
5. นางวรรณดี รามจันทร์

หมู่ที่ 1,3,5,6,7,10,11ตำบลชุมพล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

กลุ่มวัยทำงานทั้งหมดในพื้นที่ดำเนินการ 1000 คน ที่มี PA เพียงพอ 400 คน ไม่เพียงพอ2000คน

40.00
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

20.00
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

20.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

15.00
5 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

20.00 25.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

20.00 30.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

20.00 30.00
4 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

15.00 30.00
5 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

0.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/02/2022

กำหนดเสร็จ 30/04/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มแกนนำ ตัวแทน อสม.หมู่บ้านละ 5 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มแกนนำ ตัวแทน อสม.หมู่บ้านละ 5 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมสร้างความเข้าใจ อสม. แกนนำในเขต รพ.สต.บ้านลำกะ จำนวน 35 คน(ตัวแทน อสม.หมู่บ้านละ 5 คนx 7หมู่บ้าน)เพื่อประชาสัมพันธ์แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อสรรหากลุ่มเป้าหมาย 1) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ เป็นเงิน 450 บาท 2)ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มหัวละ 30 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 8 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต อสม. 35คนเข้าใจในการทำกิจกรรม ผลลัพธ์ ได้กลุ่มเป้าหมาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

กิจกรรมที่ 2 คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสม แบ่งกลุ่มออกกำลังกาย คัดเลือกแกนนำกลุ่ม

ชื่อกิจกรรม
คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสม แบ่งกลุ่มออกกำลังกาย คัดเลือกแกนนำกลุ่ม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดัน (ประเมินค่า PA, ความดันโลหิต) และให้ความรู้ในการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง (ประเมินสุขภาพเบื้อต้น)
งบประมาณจ่ายเป็น 1) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการตรวจประเมินสุขภาพ(เหมาจ่าย )1200บาท 2) ค่าวัสดุสำนักงาน(สมุคบันทึกการออกกำลังกาย) จำนวน120 เล่ม ราคาเล่มละ15 บาทเป็นเงิน1800บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 9 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต 1.รู้สถานะสุขภาพของตนเอง 2.ได้รับความรู้เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกวิธี 3.สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า80% 4.สมุดคู่มือบันทึกสุขภาพในการออกกำลังกาย ผลลัพธ์ได้รูปแบบกิจกรรมตามกลุ่ม /ได้กติกากลุ่ม /ได้แกนนำกลุ่ม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมออกกำลังกายตามแผน(การเต้นตามจังหวะประกอบเนื้อเพลง)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมออกกำลังกายตามแผน(การเต้นตามจังหวะประกอบเนื้อเพลง)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เริ่มออกกำลังกายทุกวันพุธ แต่เวลา 15.30 - 16.30 น. เป็นเวลา 1 ชั่วโมง
- ค่าตอบแทนผู้นำเต้น วันละ 200 บาท จำนวน 30 วัน เป็นเงิน 6000 บาท
- ค่าเครื่องดื่มน้ำ/นัำแข็งวันละ300 บาท จำนวน30วันเป็นเงิน9000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีคนออกกำลังกายเพิ่มขึ้นร้อยละ25จากร้อยละ20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเมินหาค่า PA ประเมิน/รายงานผลโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2565 ถึง 1 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลค่า PA  เพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
2.เด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ เพิ่มขึ้น
3.ผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ เพิ่มขึ้น
4.ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
5.ขับเคลื่อนกระบวนการ นโยบายสาธารณะในพื้นที่เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกาย


>