กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลมูโนะ ประจำปี 2565 อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลมูโนะ ประจำปี 2565 อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

1. นายไซนัลนิรมาณกุล เบอร์โทร 086-2889391
2. นางสาวอมรพรรณแถมเงิน เบอร์โทร 089-4471827

พื้นที่ตำบลมูโนะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ของ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ที่ร้ายแรงไม่แพ้กรุงเทพฯ และปริมณฑล กระทั่งรัฐบาลต้องประกาศมาตรการพิเศษเพื่อควบคุมการแพร่ระบาด ทำให้หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่เริ่มขยับทำโครงการจัดหาวัคซีนเองเพื่อนำมาฉีดคนในพื้นที่ จากข้อมูลการแพร่ระบาดในปัจจุบัน ผู้ติดเชื้อโควิด 19 ของตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส มีผู้ติดเชื้อจำนวนมากกว่า 200 คน กระจายในทุกหมู่บ้าน ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนมากพอสมควร และมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้นอกจากการใช้มาตรการการให้ความรู้และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคนี้แล้ว มาตรการสำคัญอีกอย่างที่มีความจำเป็นอย่างเร่งด่วน คือ การเร่งฉีดวัคซีนโควิด-19 ให้กับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ และผู้ที่มีความเสี่ยงสูงในพื้นที่ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมูโนะ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุกตำบลมูโนะ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก

ร้อยละของประชาชนในตำบลสามารถเข้าถึงบริการฉีดวัคซีน

50.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/11/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การจัดบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การจัดบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประสานการจัดบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุกแบบเคลื่อนที่ โดย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมูโนะ ร่วมกับโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ อาสาสมัครสาธารณสุข และผู้นำชุมชน โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้     1. ค่าอาหารสำหรับเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ คนละ 50 บาท โดยมีการลงพื้นที่จำนวน 5 หมู่บ้าน           เป็นเงิน 70,000 บาท     2. ค่าเครื่องดื่มสำหรับประชาชน จำนวน 3,000 คน คนละ 10 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
100000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 100,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ย

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในพื้นที่ตำบล สามารถเข้าถึงหรือรับบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 ร้อยละ 90
2. สามารถลดการแพร่ระบาดของการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่


>