กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019(Covid-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา

ชมรมอาสาสมัครสาธารสุข หมู่ที่ 4 ต.บ้านนา

1.นางรอมหล๊ะ เสาะหา

2.นางสารีป๊ะ เอี่ยมละมัย

3.นางผูยีย๊ะ จิตรดำริ

4.นางดลลายิ ด่าโอะ

5.นางหะหมะ หลีโกะ

หมู่ที่ 4 ต.บ้านนา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องด้วยสถานการณ์ปัจจุบันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิท-19)ได้มีการแพร่ระบาดในหลายจังหวัดส่งผลให้มีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อเป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะพบผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นรวมทั้งในพื้นที่จังหวัดสงขลาซึ่งพบผู้ป่วยติดเชื้อสะสมแล้วจำนวน50,870 รายส่วนในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านนาอำเภอจะนะจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยติดเชื้อสะสม (ข้อมูลกรกฎาคม 64- 1 พฤศจิกายน 64 )จำนวน300 รายส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรงผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดแต่อย่างไรก็ตามอัตราการเสียชีวิตก็ไม่ได้สูงมาก
ดังนั้นมาตรการในการป้องกันไม่ให้ติดโรคโควิด-19ที่มีความสำคัญคือการดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อไม่ให้ร่างกายอ่อนแอรวมทั้งการใช้สมุนไพรไทยในการดูแลสุขภาพร่างกายโดยการนำสมุนไพรมาเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายเพื่อช่วยลดโอกาสการติดเชื้อโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรงซึ่งมีส่วนช่วยในการลดความรุนแรงของโรคลงได้ ดังนั้นทางชมรมอสม.หมู่ที่ 4 จึงได้จัดทำโครงการการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีน้ำสมุนไพรบริโภคเพื่อลดโอกาสการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 201- หรือเพื่อบรรเทาอาการของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019ไม่ให้รุนแรงต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและมาตรการป้องกันโรค COVID-19ตามแนวทางป้องกันโควิดแบบครอบจักรวาล (UP:universal prevention)

1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19

0.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา COVID-19

2.ร้อยละของการใช้สมุนไพรในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านนา

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/11/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมฝึกอบรมแกนนำเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ โคโรนา COVID-19 ประจำหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมฝึกอบรมแกนนำเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ โคโรนา COVID-19 ประจำหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าวิทยากร 2 ชม.x 600 บาท x 1 คน เป็นเงิน  1,200.-  บาท

2.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 3*1 เมตร จำนวน  1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท เป็นเงิน 1,650 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1650.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมการลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมการลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 2.กิจกรรมการลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมการลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 การผลิตน้ำสมุนไพรต้าน COVID-19 กิจกรรมที่ 1 จัดทำน้ำสมุนไพรต้านโควิด-19

ชื่อกิจกรรม
การผลิตน้ำสมุนไพรต้าน COVID-19 กิจกรรมที่ 1 จัดทำน้ำสมุนไพรต้านโควิด-19
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าจัดซื้อสมุนไพรสำหรับการต้มหนึ่งครั้งต่อน้ำเปล่า 30 ลิตร  มีดังนี้

  1. ตะไคร้ 300 กรัม

  2. ข่า 300 กรัม

  3. ขิง 400 กรัม

  4. ลูกใต้ใบ 300 กรัม

  5. มะขามเปียก   1 กิโลกรัม

  6. มะนาว  500 กรัม

  7. กระชายขาว  400 กรัม

  8. เกลือ  1 ช้อนโต๊ะ

ราคารวมทั้งหมด  260 บาท

  • ต้มน้ำสมุนไพรจำนวน 30 ครั้ง

เป็นเงิน 7,800.- บาท

  1. จัดซื้อวัสดุอื่นๆ  550.- บาท

เป็นเงิน 10,000.-บาท

หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 )

2.ประชาชนได้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโควิดแบบครอบจักรวาล (UP:universal prevention)

3.ประชาชนได้มีน้ำสมุนไพรในการดูแลสุขภาพในช่วงระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 )


>