กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงและกลุ่มประชาชนที่ต้องเฝ้าระวังสังเกตอาการ ปี 2565

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงและกลุ่มประชาชนที่ต้องเฝ้าระวังสังเกตอาการ ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน

โรงพยายบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน

ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่ 2019 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2. เพื่อส่งต่อเข้ารับการตรวจซ้ำและเข้าถึงบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่สงสัยป่วยและเข้ารับการบริการสาธารณสุข 3. เพื่อแยกกักและเฝ้าระวังสังเกตอาการในประชาชนกลุ่มที่สัมผัสเสี่ยงสูงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่ 2019 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  1. คัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่ 2019 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. กลุ่มเป้าหมายที่สงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อเข้ารับการตรวจซ้ำและเข้าถึงบริการสาธารณสุขสำหรับประชาชนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่ 2019 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ได้ 100%
  3. กลุ่มเป้าหมายที่สัมผัสเสี่ยงสูงได้รับการแยกกักเพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการ ได้ 100%
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2021

กำหนดเสร็จ 30/06/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงและกลุ่มประชาชนที่ต้องเฝ้าระวังสังเกตอาการ ปี 2565

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงและกลุ่มประชาชนที่ต้องเฝ้าระวังสังเกตอาการ ปี 2565
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลควน 3. ดำเนินการตามกิจกรรมโครงการ ดังนี้         กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเชิงรุกในพื้นที่ (Active Case Finding)     ลงพื้นที่ค้นหาและคัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการระบาดของโรคโรคเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่ 2019 เขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน จำนวน 280 คน ด้วยชุดตรวจ Antigent test Kit ที่ผ่านการรับรองจาก อย. และส่งต่อเพื่อรับการประเมินผลซ้ำกรณีที่สงสัยป่วยและแยกกักเพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการในกลุ่มที่สัมผัสเสี่ยงสูง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1) ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับการเฝ้าระวังดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 และได้รับความรู้ด้านการระบาดของโรค เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน 2) สามารถค้นหาและคัดกรอง รวมถึงการแยกกักผู้ที่สัมผัสเสี่ยงสูงได้อย่างรวดเร็ว 3) อัตราป่วยด้วยโรคโรคเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบลดลง 4) การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ มีกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลป้องกันการระบาดของโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
78400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 78,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1) ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับการเฝ้าระวังดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 และได้รับความรู้ด้านการระบาดของโรค เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน
2) สามารถค้นหาและคัดกรอง รวมถึงการแยกกักผู้ที่สัมผัสเสี่ยงสูงได้อย่างรวดเร็ว
3) อัตราป่วยด้วยโรคโรคเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบลดลง
4) การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ มีกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลป้องกันการระบาดของโรค


>