กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมดูแลสุขภาพในช่องปากเด็กอายุ 3-10 ปี ชุมชนหัวสะพาน ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ชุมชนหัวสะพาน

1.น.ส.โนรีซา มะแซ (0620640234)
2.น.ส.นูซีลา ยูโซ๊ะ (0619297798)
3.นาย ตารมีซี มิงการี (0864649810)
4.น.ส.มีเนาะ เปาะโซ๊ะ (0627902349)
5.น.ส.แวสปีนะ ฮายีหะมะ (0945207209)

ชุมชนหัวสะพาน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กอายุ3ปีถึง10ปีในชุมชนหัวสะพานพบว่ามีปัญหาฟันผุ

 

50.00

จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กอายุ 3 ปี ถึง 10 ปี ในชุมชนหัวสะพาน จำนวน ๕๐ คน พบว่ามีปันหาฟันผุ เฉลี่ยคนละ ๓ ซี่ ซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอ รวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันผุตามมา ทางประธานชุมชนและคณะกรรมการหมู่บ้านและอสม.ของชุมชนหัวสะพาน ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็ก จึงได้จัดโครงการพื่อเป็นการให้ความรู้วิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และการติดตามประเมินผลขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพภายในช่องปาก

ผู้ดูแลเด็กและเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพภายในช่องปากมากขึ้น

0.00 0.00
2 เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช่จ่ายในการรักษาพยาบาล

เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 23/02/2022

กำหนดเสร็จ 23/02/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและส่งเสริมให้ความรู้การดูแลสุขภาพฟันและสุขภาพในช่องปาก

ชื่อกิจกรรม
เฝ้าระวังและส่งเสริมให้ความรู้การดูแลสุขภาพฟันและสุขภาพในช่องปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองและเด็กอายุ 3- 10 ปี จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
1. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 3-10 ปีในชุมชนหัวสะพาน
2. ช่วงเช้าจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปากฟันและให้ความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธี แก่ผู้ปกครองและเด็กกลุ่มเป้าหมาย
3. ประสานเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจนิเทศการดำเนินงานในชุมชนเดือนละ ๑ ครั้ง
4. ช่วงบ่ายจัดกิจกรรมเล่นเกมส์ทายปัญหาโดยสอดแทรกเรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปากฟันและการแปรงฟันที่ถูกวิธีกับเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรม
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าจัดซื้อผ้าขนหนู จำนวน 50 ผืนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
3. ค่าจัดซื้อแปรงสีฟัน จำนวน 50 ด้ามๆละ 35 บาท เป็นจำนวนเงิน 1,750 บาท
4. ค่าจัดซื้อยาสีฟัน จำนวน 50 กล่องๆละ 30 บาท เป็นจำนวนเงิน 1,500 บาท
5. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 50 คน เป็นจำนวนเงิน 1,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 23 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้และวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,800.00 บาท

หมายเหตุ :
สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพภายในช่องปากมากขึ้น
2. เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น


>