กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ขยับกาย สบายชีวี หมู่ที่ 1 - 11 ตำบลโนนสำราญอำเภอกันทรลักษ์จังหวัดศรีสะเกษ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านโนนสำราญ หมู่ที่ 1 - 11ตำบลโนนสำราญ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

1. นางสายทอง มลีจันทร์
2. นางสุมาลี สราภาพ
3. นายจันทร์แก้วศรี
4. นายสุธีร์แก้วยงค์
5. นางทองคำสุนันต์
6. นางบุญเทียร สานนท์
7. นางสมบัติสอนดี
8. นางรัชนี ยังใจ
9. นางนิรัน ดรนุเล
10. นายส่วน แก้วศรี
11. นางฤทัยรัตน์ บุลา

หมู่ที่ 1-11 ตำบลโนนสำราญอำเภอกันทรลักษ์จังหวัดศรีสะเกษ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

ประชากรทั้งตำบล มีจำนวนทั้งสิ้น 2,350 คน

35.65
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

ผู้ใหญ่ อายุ 18-64 ปี ในตำบล มีจำนวนทั้งสิ้น3,180 คน

75.19
3 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

สัดส่วนพื้นที่สาธารณะในตำบล มีจำนวนทั้งสิ้น23.04ไร่

38.02

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

35.65 40.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

75.19 80.00
3 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

38.02 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 380
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การวางแผนงาน โครงการ/กิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
การวางแผนงาน โครงการ/กิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางการทำกิจกรรม
  2. ให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย แก่แกนนำหมู่บ้าน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนงานโครงการ กิจกรรมที่จะดำเนินงานในพื้นที่ร่วมกัน
  2. มีความเข้าใจเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันโรคที่เกิดจากปัญหาตามที่ได้กล่าวข้างต้นโดยออกกำลังกายและการมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สุขภาพแก่ตนเอง ครอบครัว
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมทางกาย (PA : Physical Activity)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทางกาย (PA : Physical Activity)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ก่อนดำเนินกิจกรรมมีการตรวจสุขภาพเบื้องต้น และดัชนีมวลกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  2. แกนนำหมู่บ้าน ให้ความรู้และนำออกกำลังกายประจำเดือนของหมู่บ้าน เช่น การเต้นแอร์โรบิก การยึดเหยียดกล้ามเนื้อพื้นฐานเพื่อป้องกันและบรรเทาอาการเจ็บปวดจากการใช้ประกอบอาชีพ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวร่างกายตามความเหมาะสม
  3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง และครอบครัวต่อไป
  4. งบประมาณเพื่อใช้จ่ายเป็นค่า อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ป้ายโครงการ จำนวน 11 หมู่บ้านๆ ละ 2,500 บาท รวมทั้งสิ้น 27,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกิดแกนนำในการทำกิจกรรมทางกายในหมู่บ้าน
  2. เกิดกลุ่มกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพร่างกายคนในหมู่บ้านได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27500.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผล/รายงาน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผล/รายงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมและติดตามประเมินผลทุกราย 6 เดือน
  2. รายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โนนสำราญ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สรุปผลการดำเนินงานโครงการเพื่อรายงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ร้อยละ 40 ของประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์


>