กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยเกษตรอินทรีย์ในชุมชนเมือง ผักปลอดภัยไร้สารพิษชีวิตเป็นสุข ครั้งที่ 2 ประจำปี 2565

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยเกษตรอินทรีย์ในชุมชนเมือง ผักปลอดภัยไร้สารพิษชีวิตเป็นสุข ครั้งที่ 2 ประจำปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ชุมชนเจริญสุข

1. นายธนัตถ์สรณ์จันทร์วิลาศ โทร. 09504412284
2. นายประทิว แก้วคง โทร. 083-6523667
3. นายสุเมทร์ปะติตัง โทร. 087-3986901
4. นายธวัชชัย แก้วปานโทร. 098-7405844
5. นายพิเชษฐ์ หารเชิงค้า โทร. 081-679255

ชุมชนเจริญสุข

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร แนะนำการปลูกผักยกแคร่ซึ่งเหมาะกับทุกท่านที่อยากปลูกพืชผักปลอดภัยไว้กินเองในครัวเรือน เพื่อลดความเสี่ยง ในการบริโภคผักที่มีสารเคมีตกค้างทำซึ่งทำให้เกินผลเสียต่อร่างการเนื่องจากมีสารเคมีสะสมในร่างกายเป็นจำนวนมากและเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งการส่งเสริมให้มีการบริโภคพืชผักที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้นจะทำให้ร่างกายมีสุขภาพที่แข็งแรง และยังเป็นการเพิ่มกิจกรรมภายในครอบครัวให้ชีวิตเป็นสุขที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกันในการปลูกผักหน้าบ้านของตนเอง บนพื้นที่บ้านพักอาศัยที่มีอยู่อย่างจำกัด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชาวชุมชนเจริญสุขมีพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

60.00 80.00
2 เพื่อให้ชาวชุมชนเจริญสุขมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เนื่องจากได้รับประทานผักปลอดสารพิษ

ชาวชุมชนเจริญสุขมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น

50.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 21/02/2022

กำหนดเสร็จ 31/03/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพด้วยเกษตรอินทรีย์ในชุมชนเมือง ผักปลอดภัยไร้สารพิษชีวิตเป็นสุข ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมสุขภาพด้วยเกษตรอินทรีย์ในชุมชนเมือง ผักปลอดภัยไร้สารพิษชีวิตเป็นสุข ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย ผู้สนใจเข้าร่วม 15 คน
รายละเอียดกิจกรรม
1. วิทยากรอบรมให้ความรู้
- การผลิตผักปลอดภัยไร้ สารพิษชีวิตเป็นสุข
- ความมั่นคงทางอาหาร กลับการเปลี่ยนแปลงของโลก
2. ผู้ที่เข้าอบรมเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ แปลงสาธิตที่ได้ดำเนินการมาแล้วในปีแรก
กำหนดการ ดังนี้
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 12.00 น. อบรมหัวข้อเรื่องการผลิตผักปลอดภัยไร้ สารพิษชีวิตเป็นสุข และความมั่นคงทางอาหาร กลับการเปลี่ยนแปลงของโลก
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 16.00 น. ศึกษาดูงาน ณ แปลงสาธิตที่ได้ดำเนินการมาแล้วในปีแรก
16:00 - 16.30 น. ถามข้อสงสัยต่างๆ และปิดโครงการอบรมการปลูกผักยกแคร่ปลอดภัยไร้สารพิษชีวิตเป็นสุข
งบประมาณมีดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 15 คน มื้อละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 750 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน 15 คน มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 750 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท x 3 ชั่วโมงเป็นเงิน 1,800 บาท
4. ค่าป้ายโครงการ 1 ป้าย ป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
5. ค่าเอกสาร 300 บาท
6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยเกษตรอินทรีย์ในชุมชนเมือง ผักปลอดภัยไร้สารพิษชีวิตเป็นสุข จะมีสุขภาพที่ดีขึ้น ลดจำนวนผู้ป่วยที่มีสาเหตุมาจากการบริโภคพืชผักที่มีการสารเคมีตกด้างในร่างกายมาเป็นระยะเวลานาน สร้างความสุขภายในสมาชิกในครัวเรือนที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,100.00 บาท

หมายเหตุ :
สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ชาวชุมชนเจริญสุขมีพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
2. ชาวชุมชนเจริญสุขมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เนื่องจากได้รับประทานผักปลอดสารพิษ


>