กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลขุนตัดหวาย

1.นางวัชรีไพตรีจิตต์ โทร 080-7157859
2.นางอัญชลีนิลรัตน์โทร 082-2350461
3.น.ส.รัชนีแก้วทองโทร 086-7497581
4.น.ส.รอหน๊ะบูดีโทร 065-0493670
5.นางรีเย๊าะวิชัยดิษฐโทร 063-0857153

ตำลขุนตัดหวายอำเภอจะนะจังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานแรงงานนอกระบบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่

 

0.00
2 ร้อยละของเกษตรกรที่เจ็บป่วยหรือได้รับอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ

 

20.00
3 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีอันตรายในเลือด

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่

จำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เพิ่มขึ้น

0.00 18.00
2 เพื่อลดจำนวนเกษตรกรที่เจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพ

ร้อยละของเกษตรกรที่เจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพลดลง

20.00 10.00
3 เพื่อลดเกษตรกรที่มีการตกค้างของสารเคมีในเลือด

เกษตรกรที่่มีสารตกค้างในเลือดลดลง

20.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 58
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
อาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 18

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานและการจัดทำกติกา ข้อตกลงร่วมกันเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานและการจัดทำกติกา ข้อตกลงร่วมกันเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อส.อช.) การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ(JSA) การพัฒนาระบบอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมช่วยเตือนให้ลดอันตรายจากพฤติกรรมการประกอบอาชีพ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อส.อช.) การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ(JSA) การพัฒนาระบบอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมช่วยเตือนให้ลดอันตรายจากพฤติกรรมการประกอบอาชีพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 18 คนๆละ2มื้อๆละ25บาทเป็นเงิน900บาท 2.ค่่าอาหารกลางวันและน้ำดื่มจำนวน18คนๆละ50บาทเป็นเงิน900บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 4 ชั่วโมงๆละ600บาทเป็นเงิน2,400บาท 4.ค่าวัสดุ/เอกสารการอบรมเป็นเงิน 700 บาท 5.ค่าป้่ายไวนิลจำนวน1ป้ายเป็นเงิน500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมช่วยเตือนให้ลดอันตรายจากพฤติกรรมการประกอบอาชีพและสามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5400.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกร การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและเจาะเลือดหาสารตกค้างในเลือด ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกร การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและเจาะเลือดหาสารตกค้างในเลือด ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าชุดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดพร้อมอุปกรณ์เป็นเงิน4,000บาท 2.ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ตรวจสารเคมีในเลือดจำนวน2คนๆละ600บาทเป็นเงิน1,200บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน40คนๆละ1มื้อๆละ25บาทเป็นเงิน1,000บาท 4.ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน2ชั่วโมงๆละ600บาทเป็นเงิน1,200บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด 2.เกษตรกรมีควารู้และสามารถป้องกันตนเองจากสารเคมีจากการประกอบอาชีพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7400.00

กิจกรรมที่ 4 เจาะเลือดหาสารคมีในเลือด ครั้งที่ 2 และสรุปผล

ชื่อกิจกรรม
เจาะเลือดหาสารคมีในเลือด ครั้งที่ 2 และสรุปผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ตรวจสารเคมีในเลือดจำนวน2คนๆละ600บาทเป็นเงิน1,200บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน40คนๆละ1มื้อๆละ25บาทเป็นเงิน1,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลการตรวจสารเคมีในเลือด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรในพื้นที่
2.เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัยที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุกการประเมินความเสี่ยงความรอบรู้ด้านสุขภาพและการใช้แอพพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล
3.เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกร
4.กลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรในพื้นที่เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ


>