กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต

ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

31.53

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วย

คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง

0.00 90.00
2 2. .เพื่อติดตามวัดความดันในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงสูงและให้ความรู้

ติดตามวัดความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงสูงและให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงร้อยละ 80 ได้รับการติดตาม (ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง)

0.00 80.00
3 3.เพื่อติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและตรวจสุขภาพ

ติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและตรวจสุขภาพร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตามและตรวจสุขภาพ (ประเมินผลจากการรับยาและพบแพทย์ตามนัด)

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 623
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,935
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คัดกรอง ความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไปที่ไม่เป็นกลุ่มเสี่ยง และไม่เป็นโรค 1.ค่าเครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล จำนวน 13 เครื่อง x 4,000 บาทเป็นเงิน 52,000 บาท 2. เจลแอลกอฮอล์สำหรับล้างมือ ชนิดหัวปั๋ม ขนาด 500 mlจำนวน 13 ขวด x 120 บาทเป็นเงิน 1,560 บาท 3. เจลแอลกอฮอล์สำหรับล้างมือ ชนิดหัวปั๋ม ขนาด 1,000 ml (ชนิดเติม) 5 ขวด ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต   ประชาชนได้รับการ คัดกรอง ร้อยละ  90 ผลลัพธ์  กลุ่มเป้าหมายรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง และสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
54250.00

กิจกรรมที่ 2 ติดตามวัดความดันที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย/ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย

ชื่อกิจกรรม
ติดตามวัดความดันที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย/ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามวัดความดันที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย/ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มวัดความดันที่บ้าน จำนวน 200แผ่น ๆ ละ 0.50บาทเป็นเงิน 100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิตร้อยละ 60ของกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ผลลัพธ์1.ติดตามวัดความดันที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย/ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย 2.ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยรายใหม่ตาม CPG จากการ ติดตามวัดความดันที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย ป่วย (ส่งพบแพทย์) (Risk = 3) หมายถึง ค่าความดันโลหิต sbp มีค่า >= 180 mmHg หรือ dbp มีค่า >= 110 mmHg มากกว่า จ่ายยารักษา โดยรพ.สต.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
100.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและตรวจสุขภาพ ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตามและตรวจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและตรวจสุขภาพ ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตามและตรวจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและตรวจสุขภาพ ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตามและตรวจสุขภาพ โดยการเยี่ยมบ้านจากเจ้าหน้าทีและ อสม.

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต   ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตาม ผลลัพธ์  1.ผู้ป่วยได้รับยาและกินยาอย่างต่อเนื่องทุกราย             2.ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนรายใหม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 54,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
2. ลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
3. ลดอัตราการตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง


>