กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉาง ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉาง

สำนักงานเลขานุการกองทุน

องค์การบริหารส่วนตำบลฉางอำเภอนาทวีจังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

15.00
2 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

10.00
3 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)

 

3.00
4 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

 

8.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

15.00 20.00
2 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

10.00 15.00
3 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

3.00 4.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

8.00 10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 25

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง ต่อปี(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง ต่อปี(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดให้เกิดการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง ต่อปี(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)

  • ค่าตอบแทนการประชุมณะกรรมการ อนุกรรมการ และผูัเกี่ยวข้อง 20 ,คน ๆละ 400 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 32,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆละ 25 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 2,000บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

การจัดประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
34500.00

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน เกี่ยวกับ กฏหมาย ระเบียบของกองทุนและการเขียนโครงการที่ดี ตามหลักเกณฑ์ของ สปสช. แก่ประชาชนและหน่วยงานที่รับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 20 คน ๆละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าถ่ายเอกสารการอบรม 500.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพิ่มกลุ่มองค์กร/ประชาชน ที่ของบประมาณกองทุน เพิ่มโครงการที่ดีและเป็นโครงการที่มีประสิทธิภาพ เพิ่มจำนวนร้อยละ ของการใช้งบประมาณกองทุน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5100.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการ การบันทึกกิจกรรม การประเมินผลโครงการและการรายงานผล แก่ผู้ขอรับทุน ผ่านระบบออนไลน์ หน้าเวปไซด์กองทุน สปสช.

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการ การบันทึกกิจกรรม การประเมินผลโครงการและการรายงานผล แก่ผู้ขอรับทุน ผ่านระบบออนไลน์ หน้าเวปไซด์กองทุน สปสช.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 30 คน ๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 750 บาท

-ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมสามารถบันทึกข้อมูล กิจกรรม สรุปโครงการและประเมินผลโครงการโดยระบบเวปไซดกองทุน สปสช.ได้ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2550.00

กิจกรรมที่ 4 ค่าเดินทางไปราชการ

ชื่อกิจกรรม
ค่าเดินทางไปราชการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าเดินทางไปราชการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้า่ร่วมอบรมได้รับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มยิ่งขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 46,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉางดำเนินงานได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
2. เพิ่มการใช้งบประมาณและกลุ่มองค์กร/ประชาชนที่มาขอรับทุนกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉาง


>