กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดเสี่ยงเลี่ยงโรคปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ

1.นางกรุณาวิสโยภาส 2.นายเสริมขวัญนุ้ย 3.นางนันทภรณ์รุยัน 4.นางหนูพร้อมด้วงเอียด 5. นางสาวสิริรัตน์ พรหมมินทร์

ม.1-ม.10 ตำบลท่ามิหรำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง

 

40.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

20.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 500
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
การคัดกรองเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดหาเครื่องตรวจหาค่าน้ำตาลในเลือด 10 เครื่อง เป็นเงิน 10,000 จัดหาวัสุสำหรับตรวจหาค่าน้ำตาลในเลือด 62 กล่อง เป็นเงิน 15,500

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง คัดกรองค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้ อย่างน้อย ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25500.00

กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน โรงความดันโลหิตสูง โรคอ้วน

ชื่อกิจกรรม
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน โรงความดันโลหิตสูง โรคอ้วน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดให้มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม500 คนคนละ 25 บาท เป็นเงิน 12,500บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน 18,000บาท จัดให้มีกิจกรรมกลุ่มสมัครใจร่วมกิจกรรมลดโรคลดพุงหุ่นดี
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน คนละ 25 บาท 4 ครั้ง เป็นเงิน 5,000 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท - ค่าตรวจหาค่าไขมันในเลือดหลังเสร็จสิ้นโครงการ จำนวน 50 คน คนละ 220 บาท เป็นเงิน 11,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ 95

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
54700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 80,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละ 90 ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ 15 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคซึมเศร้า ภาวะเครียด
2.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงทุกคนมีความรุ้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องสม่ำเสมอ สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ 20 และกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
3.อัตราการเกิดโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 10
4.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
5.กลุ่มที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดปกติ และระดับความดันโลหิตปกติได้รับความรุ้ในการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเพื่อปัองกันการเกิดโรค


>