กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก หมู่ที่ 2

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

1.นายสมานราโอบ
2นายวัชรินทร์ งาหอม
3.นายคำรณ เอียดฤทธิ์
4.นายวิรัตน์ เตบเส็น
5.นางสาวสุจินดา นกเกษม

ตำบลเขาวขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ซึ่งพบการระบาดทุกพื้นที่ทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทย ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก กระจายไปยังทุกพื้นที่เป็นบริเวณกว้างจนยากที่จะควบคุมได้ ส่งผลกระทบทั้งทางด้านสุขภาพ วิถีชีวิต การประกอบอาชีพ สังคมและเศรษฐกิจ ตัวเชื้อไวรัส COVID-19 มีการพัฒนากลายพันธุ์ตลอดเวลา ผู้ติดเชื้อจะมีอาการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง หรือบางรายอาจไม่แสดงอาการปัจจุบันแม้ว่าจะใช้มาตรการป้องกันควบคุมโรคหลายมาตรการ เช่น คัดกรองและเฝ้าระวังโรค กักตัวผู้มีความเสี่ยง รักษาระยะห่างระหว่างบุคคล สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า งดจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่มคนจำนวนมาก ทำความสะอาดสถานที่และพื้นผิวสัมผัส แต่ก็ยังไม่สามารถป้องกันและควบคุมโรคให้หมดไป ๑๐๐ % ได้
หมู่ที่ 2 ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล มีประชากรจำนวน 646 คน มีจำนวน 176 หลังคาเรือน (ข้อมูลทะเบียนราษฎ์อำเภอละงู ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2564) จากสถานการณ์โรคโควิดตำบลเขาขาว ณ วันที่ 4 มกราคม 2565 พบว่า ตำบลเขาขาวมีผู้ป่วยยืนยันสระสมตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๖๔ จำนวน 233 ราย (ข้อมูลจากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 อำเภอละงู ณ วันที่ 4 มกราคม 2565) และมีแนวโน้มการระบาดที่ไม่แน่นอนในอนาคต
คณะกรรมการหมู่บ้านหมู่ที่ 2 ต.เขาขาว ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เป็นการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน แก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคในในพื้นที่ เพื่อประชาชนในพื้นที่จะได้กลับมาใช้ชีวิตประจำวันเหมือนเดิมและปกติสุขต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์

ร้อยละของครัวเรือนได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์

100.00 100.00
2 เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง

ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง

100.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 646
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อมรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชื้อไวรัสโคโรนา ๒o๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
อมรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชื้อไวรัสโคโรนา ๒o๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เชิงฎิบัติการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒o๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน ในหัวข้อเรื่อง การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชิ้อไวรัสโคโรนาในหมู่บ้าน,การพ่นใช้ยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดทั่วไป และกรณีมีผูป่วยติดเชื้อในครัวเรือน,การใช้ชุด PPE และวัสถุป้องกันการติดเชื้ออื่นๆ,การขัดแยกและการกำจัดขยะติดเชื้อในครัวเรือน/ชุมชน
แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ จำนวน18 คน

  • ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท

  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ มื้อละ 60 บาท จำนวน 18 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,080 บาท

  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 18 คน จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 900 บาท

  • ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม(เช่น สมุด ปากกา แฟ้มเอกสาร เป็นต้น) คนละ 1 ชุด ชุดละ 50 บาท จำนวน 18 คน เป็นเงิน 900 บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมง ชั่งโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มกราคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการ คณะทำงาน แกนนำเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในหมุ่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจและทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา เชิงรุกในหมู๋บ้าน/ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกััน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา แลพอัตราการติดเชื้อในหมู่บ้านที่ลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6300.00

กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์รณรวค์เฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาเชิงรุกนหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์รณรวค์เฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาเชิงรุกนหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน ตามจุดที่เหมาะสมน่าสนใจ จำนวน 2 จุด

  • ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน ขนาด 1.2 x2.4 เมตร จำนวน 2 ป้าย ป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุคในหมู่บ้าน กระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัณ/ประชาชนตระหนัก เห็นความสำคัณและให้ความร่วมมือในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค ส่งผลให้อัตราการติดเชื้อในหมู่บ้านลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 3 ฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมุ่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆ ในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
ฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมุ่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆ ในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พ่นยาฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน เช่น มัสยิด อาคารเอนกประสงค์ เป็นตัน

  • ค่าซื้อถังพ่นนำ้ยาขนาด 12 ลิตร จำนวน 2 ถัง ถังละ 1,500 เป็นเงิน 3,000 บาท

  • ค่านำ้ยาพ่นฆ่าเชื้อ แกลอน ละ 1,250 บาท จำนวน 3 แกลอน เป็นเงิน 3,750 บาท

  • ค่าชุด PPE ชุดละ 200 บาท จำนวน 40 ชุด เป็นเงิน 8,000 บาท

  • ค่าเฟชชิว อันละ 25 บาท จำนวน 40 อัน เป็นเงิน 1,000 บาท

  • ค่าหน้ากากอนามัย กล่องละ 100 บาท (50 ชิ้น) จำนวน 30 กล่อง เป็นเงิน 3,000 บาท

  • ค่าถุงมือยาง กล่องละ 250 บาท (100 ชิ้น) จำนวน 5 กล่อง เป็นเงิน 1,250 บาท

  • ถุงแดงสำหรับใส่ขยะติดเชื้อ จำนวน 10 แพ็ค แพ็คละ 69 บาท เป็นเงิน 690 บาท

  • ถุงดำสำหรับขยะทั่วไปที่ใช้ในกิจกรรมป้องกันควบคุมโรค จำนวน 3 แพ็ค แพ็คละ 59 บาท เป็นเงิน 177 บาท

  • เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ขนาด 500 Ml จำนวน 30 ขวด ขวดละ 120 เป็นเงิน 3,600 บาท

  • ค่าสเปรย์แอลกอฮอล์ล้างมือ 100 มล. จำนวน 20 ขวดละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท

  • ชุดตรวจ ATK จำนวน 40 ชุด ชุดละ 100 เป็นเงิน 4,000 บาท

  • รองเท้าบูช คู่ละ 280 บาท จำนวน 6 คู่ เป็นเงิน 1,680 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับการป้องกันควบคุมโรค ประชาชนในหมู่บ้านที่ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยง ได้รับการป้องกันควบคุมโรค/ลดการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อในหมู่บ้านไม่ให้กระจายเป็นวงกว้าง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30647.00

กิจกรรมที่ 4 คัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
คัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขจัดการแยกขยะติดเชื้อในชุมชนให้ถูกต้อง เพื่อนำไปกำจัดอย่างถูกต้องวิธีต่อไป
- จัดซื้อถังขยะติดเชื้อ ขนาด 120 ลิตร จำนวน 1 ถัง ถังละ 1,750 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีถังขยะติดเชิ้อประจำหมู่บ้าน/ขยะติดเชื้อได้รับการกำจัดอย่างถูกต้องวิธี ลดการแพร่กระจายเชื่อโรคในหมู่บ้านชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1750.00

กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อกิจกรรม
รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียกกิจกรรม

6.1 รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

6.2 จัดทำรายงานผลโครงการกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

เป้าหมาย

คณะทำงานโครงการจำนวน 5 คน งบประมาณ

ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ เป็นเงิน 500 บาท รวมเป็นเงิน 500บาท

งบประมาณ 500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 31 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ให้รายงานออกมาสมบูรณ์แบบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 40,197.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุโรคเชิกรุกในหมุ่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อเกตุการณ์
2.ลดปัญหาครัวเรือนได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา
3.อัตราการติดเชื่ช้อไวรัสโคโรนา ๒o๑๙ ในหมู่่บ้านลดลง
4.ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ กลับมาประกอบอาชีพตามวิถีชีวิต และใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างปกติสุขต่อไป


>