กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืนปีที่2 ประจำปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน

ชมรมผู้สูงอายุบ้านลีนานนท์จุฬาภรณ์

1.นายเวียง รักษ์บรรจง 2.นายยา สาเล็ง 3.นายดือราแม บินซา 4.นายสมโชค ชูกลิ่น 5.นายมนตรี บุรีภักดี

อาคารผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุฬาภรณ์พัฒนา 12

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

80.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

 

80.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

80.00

ปัจจุบันประเทศไทยมีข้อมูลประชากรผู้สูงอายุเกินร้อยละ10 ของประชากรทั้งหมด ถือได้ว่าสังคมไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุอย่างแท้จริงจากสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดภาระพึ่งพิงสูงมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุมักมีปัญหาด้านสุขภาพตามมาได้แก่ ปัญหาการได้ยินและการมองเห็น การสื่อสาร การเคลื่อนไหวร่างกายและอุบัติเหตุ ปัญหาในการขบเคี้ยวอาหารและการขับถ่าย ปัญหาสภาพจิตใจ โรคสมองเสื่อม ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่พบมาก 3 อันดับแรกในผู้สูงอายุได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 31.7 โรคเบาหวาน ร้อยละ 13.3 และโรคหัวใจ ร้อยละ7 ( มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,2553) นอกจากนั้นมีโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคมะเร็ง การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) เป็นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยังมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยและยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด อาจแบ่งผู้สูงอายุ ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามกลุ่มศักยภาพความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Activity of Daily Living: ADL) โดยใช้แบบประเมินดัชนีบาร์เทล เอดีแอล (Barthel ADL Index) ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ติดสังคม) พึ่งพาตนเองได้ กลุ่มที่ 2 ติดบ้าน) ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง บางส่วนต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันบ้าง กลุ่มที่ 3 ติดเตียง) คือ ผู้สูงอายุที่ป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันและการดูแลฟื้นฟูสุขภาพต่อเนื่อง ดังนั้นการดำเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาววิธีหนึ่งคือการดำเนินกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุให้ต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืนปีที่2 ประจำปี 2565

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล

ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น

80.00 80.00
2 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มลดลง

80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 25/02/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ (กลุ่มที่ 1)

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ (กลุ่มที่ 1)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท 3. ค่าวิทยากร 300 x 3 ชม. เป็นเงิน 900 บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ - ป้ายอาคาร ชมรมผู้สูงอายุ 1 ป้ายx 4,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มีนาคม 2565 ถึง 18 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9700.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ (กลุ่มที่ 2)

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ (กลุ่มที่ 2)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท 3. ค่าวิทยากร 300 x 3ชม. เป็นเงิน 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มีนาคม 2565 ถึง 19 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4900.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมให้ความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่1

ชื่อกิจกรรม
ประชุมให้ความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมให้ความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่1โดยแบ่งการประชุมออกเป็น 2 ช่วงเวลาเช้า 40 คน บ่าย 40 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 80 คน x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 เมษายน 2565 ถึง 11 เมษายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่2

ชื่อกิจกรรม
ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่2 โดยแบ่งการประชุมออกเป็น 2 ช่วงเวลาเช้า 40 คน บ่าย 40 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 80 คน x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 พฤษภาคม 2565 ถึง 16 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 5 ประชุมให้ความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่3

ชื่อกิจกรรม
ประชุมให้ความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมให้ความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่3 โดยแบ่งการประชุมออกเป็น 2 ช่วงเวลาเช้า 40 คน บ่าย 40 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 80 คน x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มิถุนายน 2565 ถึง 13 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่4

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่4
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่4 โดยแบ่งการประชุมออกเป็น 2 ช่วงเวลาเช้า 40 คน บ่าย 40 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 80 คน x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 กรกฎาคม 2565 ถึง 11 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายได้ร่วมกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>