กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหมอครอบครัวเพื่อผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการในชุมชนตำบลฝาละมี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี

รพ.สต.ในพื้นที่ตำบลฝาละมี

ตำบลฝาละมี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่องส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ โดยแกนนำที่ผ่านการอบรม

 

60.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ ให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

 

60.00
3 เพื่อให้แกนนำบ่ครอบครัวได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรังผู้สูงอายุผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการ

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่องส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ โดยแกนนำที่ผ่านการอบรม

ผู้ดูแล/อาสาสมัคร ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการ มีความรู้ทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้องมากกว่า ร้อยละ 100

80.00 1000.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ ให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการ ได้รับการเยี่ยมติดตามการดูแล ร้อยละ 100

80.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1,488
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 258
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/06/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้ป่วยและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง แก่จิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้ป่วยและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง แก่จิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้ป่วยและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง แก่จิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน - ค่าจัดป้ายความรู้แผ่นพับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 500 ชุดๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 1,000บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 5 ป้ายๆ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มิถุนายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วย /ผู้ดูแล มีวามรู้ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย แก่จิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน ทุกหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย แก่จิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน ทุกหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย แก่จิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน ทุกหมู่บ้าน - เครื่องวัดวามดันโลหิตแบบแสดงภาวะหัวใจ 11 เครื่องๆ ละ 4,500 บาท เป็นเงิน 49,500 บาท - ค่าจัดทำเอกสาร และแบบบันทึกการเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าจัดซื้อ เครื่องวัดระดับน้ำตาล ปลายนิ้ว จำนวน 11 เครื่องๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 27,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีอุปกรณืเพียงพอในการเยี่ยมติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
80000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยมีค่าใช้จ่าย - ค่าจัดซื้อกระเป๋าผ้า สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อติดตามการกินยา และการรักษา จำนวน 500ใบๆ 80 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยในชุมชน จำนวนคน ได้รับการเยี่ยมดูแลทุกคน - ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40000.00

กิจกรรมที่ 4 ส่งต่อผู้ป่วยที่ควบคุมระดับเบาหวาน และความดันไม่ได้ ตามระบบการส่งต่อ

ชื่อกิจกรรม
ส่งต่อผู้ป่วยที่ควบคุมระดับเบาหวาน และความดันไม่ได้ ตามระบบการส่งต่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งต่อผู้ป่วยที่ควบคุมระดับเบาหวาน และความดันไม่ได้ ตามระบบการส่งต่อ

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อทุกราย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 124,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการมีความรู้และมีกำลังใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
2.บอกครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรังผู้สูงอายุผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการได้
3.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชน
4. อัตราความรุนแรงของ โรคลดลง อัตราความพิการลดลง


>