กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกรณีโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน ประจำปีงบประมาณ 2565

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกรณีโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน ประจำปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน

นายเลอศักดิ์ จันทร์น้อย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน

พื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1,2,4,5,6,9,10,11และ13 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

20.06
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

 

20.95
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

46.44
4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

19.47
5 ประชาชนกลุ่มอายุ35 ปีขึ้นไปไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง

 

1,294.00
6 ประชาชนกลุ่มอายุ35 ปีขึ้นไปไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน

 

1,601.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง

12.28 10.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

20.06 18.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)ลดลง

20.95 18.00
4 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง

19.47 16.00
5 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตสูงในประชาชนที่มีอายุ35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละของประชาชนที่มีอายุ35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง

90.00 95.00
6 เพื่อคัดกรองเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนที่มีอายุ35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวาน

90.00 95.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,601
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 805
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 444
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2002

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่เป็นโรค

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่เป็นโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าแถบ DTX และเข็มเจาะ ราคา 950 บาท/กล่อง จำนวน 17 กล่อง เป็นเงิน 16,150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่เป็นโรคได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานใน ร้อยละ 95

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16150.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้รายบุคคล รายกลุ่ม โดยไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงร้อยละ 80 ได้รับความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน (Home BP)
  2. เจาะเลือดส่งตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดซ้ำ (FBS)
  3. รายงานแพทย์ในกรณีที่พบระดับความดันโลหิต หรือระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงสูง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเสี่ยงร้อยละ 40 ได้รับการติดตามตรวจซ้ำ 2.ค่าระดับความดันโลหิต หรือระดับน้ำตาลในเลือด ลดลง 3.อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หรือโรคเบาหวานลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานโดยการตรวจเลือดประจำปี ดูค่า HbA1C ตรวจ Fandus Camera ตรวจเท้าด้วย Monofilament test

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานโดยการตรวจเลือดประจำปี ดูค่า HbA1C ตรวจ Fandus Camera ตรวจเท้าด้วย Monofilament test
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ตรวจเลือดประจำปี
  2. ตรวจ Fandus Camera
  3. ตรวจเท้าด้วยMonofilament test
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจเลือดประจำปี มีค่า HbA1C อยู่ในระดับควบคุมได้ ร้อยละ 60
  2. กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจ Fandus Camera ร้อยละ 60
  3. กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจเท้าด้วยMonofilament test ร้อยละ 60
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชากรกลุ่มปกติได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง อย่างครอบคลุม ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและได้รับการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วยการเจาะเลือดส่งตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด ได้รับการตรวจวัดความดันที่บ้านติดต่อกัน7วัน(HOME BP) ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคไต และอื่นๆ


>