กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
กลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านดอนศาลา
กลุ่มคน
1.นางเพลินพิศ ขุนเศรษฐ์ 098020959
2.นางจรงค์ รักหนู
3.นางยุพิน ชิตสุข
4.นางสาวอารีย์ พูลสมบัติ
5.นางสุอาภรณ์ ปลอดดำ
3.
หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสีย ชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคใข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมาจากรายงานของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคน ใน ปี 2560-2563 เท่ากับ 11.46 , 8.91,20.70และ 12.62 และอัตราป่วยตายร้อยละ 0.13 , 0.15 , 0.11 และ 0.06 ตามลำดับ และ อำเภอควนขนุนปี 2560-2563 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 126.63 , 67.46 , 335.11 และ 94.73 และไม่พบผู้ป่วยตาย ตามลำดับ การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมิถุนายน - กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่ 1 พอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับสภาพภูมิอาการที่เปลี่ยนแปลง เป็นสาเหตุที่ทำให้ลูกน้ำยุงลายเจริญเติบโตได้ดี และข้อมูลทางวิชาการพบว่า ขณะนี้การเจริญเติบโตของลูกน้ำยุงลายกลายเป็นยุงใช้เวลาเพียง 5 วัน จาก 7 วัน ทำให้ปริมาณยุงตัวเต็มวัยเพิ่มมากขึ้น จึงคาดการณ์ว่าในปี 2565 หากไม่มีการป้องกันโรคแต่เนิ่นๆ จากพยากรณ์แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกจากการคาดการณ์ พบว่า ปี พ.ศ.2565 ประเทศไทยจะมีการระบาดทั้งปี ประมาณ 95,500 คน โดยจะพบผู้ป่วยประมาณ 3,000 – 4,000 รายต่อเดือน และอาจสูงถึง 10,000 -16,000 ราย ต่อเดือน ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรค ไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา พบผู้ป่วย ในปี 2559-2563 จำนวน 1,7,0,17 และ 1 รายตามลำดับ ซึ่งอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 49.46, 346.19 , 0 , 840.75 และ 49.46 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าจากอัตราการป่วยต่อแสนประชากรสูงในรอบ 5ปีผ่านมา ค่ามัฐยฐานอัตราป่วยเท่ากับ 297.03 การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียน และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน การแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้น ได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564 เพื่อควบคุมโรคและป้องกันโรคซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้ง จากชุมชน โรงเรียนเทศบาล และหน่วยงานอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก การเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ
    ขนาดปัญหา 24.00 เป้าหมาย 32.50
  • 2. เพื่อให้แกนนำอสม.สามารถประเมินค่าHI CI ได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำอสม.สามารถประเมินค่า HI ,CIได้อย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้แกนนำ อสม.สามารถใช้เครื่องวัดความดันแบบปรอท( BPCuff ) ประเมินจุดเลือดออกขนาดเล็กใต้ชั้นผิวหนัง ของผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ อสม.แกนนำ สามารถใช้เครื่องวัดความดันแบบปรอท( BPCuff)ประเมินจุดเลือดออกขนาดเล็กใต้ชั้นผิวหนัง ของผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ
    รายละเอียด

    ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้ง อสม.ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตแบบปรอท( BP Cuff) ทั้งของเด็กและผู้ใหญ่ จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. และการจัดการขยะและการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ และกำหนดแนวทางในการ
    รายละเอียด

    1.จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตแบบปรอท( BP Cuff) สำหรับผู้ใหญ่ จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 3,500 บาท 2.จัดซื้อผ้าพันแขน สำหรับวัดความดันโลหิตแบบปรอท( BP Cuff) สำหรับเด็กโต จำนวน 1 ชิ้น เป็นเงิน 350 บาท 3.จัดซื้อสายทูนิเก้ รัดแขน ความยาว 50 เซนติเมตรจำนวน 3 เส้น ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน150 บาท 4.ค่าเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน 3,400 แผ่นๆละ 0.5 บาท จำนวน 1,700 บาท 5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้ารับการอบรมและผู้จัด มื้อละ 25 บาท x 1 มื้อ x 35 คน = 875 บาท 6.ค่าจัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ จำนวน 1 ป้าย ขนาด 1.2 x 2.4 เมตรเป็นเงิน 500 บาท 7.ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรมและผู้จัด มื้อละ 50 บาท x 1 มื้อ x 35 คน = 1,750 บาท 8. ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท X 3 ชม.เป็นเงิน 1,800 บาท 9.ค่าเอกสารสำหรับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 11,625.00 บาท
  • 3. กิจกรรมสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและกิจกรรมฉีดพ่นเคมีกำจัดยุงลายตัวแก่ ช่วงเกิดโรค
    รายละเอียด

    สำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนทุกวันศุกร์ พร้อมคำนวณค่าHI ,CI เพื่อประเมินสถานการณ์ของการเกิดโรคไข้เลือดออก

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. ประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน
    รายละเอียด

    สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 4,6,8,9 ตำบลมะกอกเหนือ อ.ควนขนุน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 11,625.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดน้อยลง 3.ไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 4.สามารถควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 11,625.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................