แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ รหัส กปท. L2476
อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ประกอบกับปัจจุบันมีหลักฐานที่สนับสนุนว่าการเป็นโรคปริทันต์มีผลต่อการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด และเด็กน้ำหนักแรกเกิดน้อย แม่ที่มีฟันผุจะมีเชื้อจุลินทรีย์ในปากจำนวนมาก ซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลายและจากข้อมูลทางระบาดวิทยาของประเทศไทย พบว่าช่วงอายุ ๐ - ๓ ปี เป็นช่วงที่อัตราการเกิดฟันผุใน ฟันน้ำนมของเด็กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่ การควบคุมอาหารหวาน และการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ วันละ ๒ ครั้ง ควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่น ๆ เช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทา ร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของครอบครัว อสม.ชุมชน รวมทั้งครอบครัว(ผู้ปกครอง) ต้องให้ความสำคัญในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านของลูกน้อย ดังนั้น คลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) ของทุกสถานบริการสาธารณสุข เป็นสถานที่ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขมีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอ เหมาะสมที่จะดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็ก ๐-๓ ปี และครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
-
1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ได้รับบริการการตรวจสุขภาพช่องปากฝึกทักษะการแปรงฟันดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร และได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็นตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจฟันร้อยละ 80 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็นร้อยละ 50 3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีการเช็ดทำความสะอาดช่องปากเด็กร้อยละ 80ขนาดปัญหา 74.00 เป้าหมาย 74.00
-
2. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-5 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองเด็กวัย 0 - 3 ปี ได้รับทันตสุขศึกษาและฝึกทำความสะอาดช่องปากแบบมือต่อมือ ร้อยละ 75 2. เด็กวัย 0 – 5 ปีได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชร้อยละ 75 3. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กอนุบาลได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชร้อยละ 75ขนาดปัญหา 250.00 เป้าหมาย 250.00
-
3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้วิธีการดูแลฟันปลอมและใช้ฟันปลอมได้อย่างถูกต้องการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธีตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
4. เพื่อให้แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรูัเรื่องการดูแบสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรูัถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้ตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. 1.ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงมีครรภ์รายใหม่ ฝึกทักษะการแปรงฟันโดยการย้อมสีฟัน 2.ให้บริการทันตกรรมในรายที่จำเป็น และแจกชุดของขวัญในกรณcomplet case 3.เยี่ยมบ้านหญิงมีครรภ์หลังคลอดพร้อมสอนการเช็ดเหงือกลูกรายละเอียด
- ค่าวัสดุฝึกแปรงฟัน สำหรับฝึกทักษะการแปรงฟัน (หญิงตั้งครรภ์) จำนวน 74 ชิ้น ๆ ละ 40 บาทเป็นเงิน 2,960 บาท
- ค่าชุดcomplete case จำนวน 28 ชุด ชุดละ100 เป็นเงิน 2,800 บาท
- ค่าวัสดุทำความสะอาดช่องปากเด็กอายุ 0-6 เดือน จำนวน 54 ชิัน ชิ้นละ 30 บาท เป็นเงิน 1,620 บาท
งบประมาณ 7,380.00 บาท - ค่าวัสดุฝึกแปรงฟัน สำหรับฝึกทักษะการแปรงฟัน (หญิงตั้งครรภ์) จำนวน 74 ชิ้น ๆ ละ 40 บาทเป็นเงิน 2,960 บาท
- 2. ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก 0-5 ปี ฝึกทักษะการแปรงฟันให้ลูกแบบมือต่อมือแก่ผู้ปกครองรายละเอียด
- ค่าวัสดุสำหรับสอนเช็ดทำความสะอาดช่องปากลูก อายุ 0 - 6 เดือน จำนวน 54 ชิ้น ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,620 บาท
- ค่าชุด Complete case เพื่อจูงใจในการรับบริการครบตามเกณฑ์ จำนวน 28 ชุด ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
- ค่าวัสดุฝึกแปรงฟัน จำนวน 250 ชิ้น ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
งบประมาณ 14,420.00 บาท - 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำอสม.และแม่อาสา เชิงลึกสามารถปฏิบัติจริงรายละเอียด
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับแกนนำอสม.และแม่อาสา ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 52 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท
งบประมาณ 1,300.00 บาท - 4. ตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ฝึกทักษะการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธี ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพ วิธีดูแลฟันปลอมและใช้ฟันปลอมได้อย่างถูกต้องรายละเอียด
- ค่าอุปกรณ์ฝึกทักษะการแปรงฟันผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุและผู้นำศาสนา จำนวน 200 ชิ้น ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
- ค่าอุปกรณ์ดูแลฟันปลอม (เม็ดฟู่ทำความสะอาดฟันปลอม) จำนวน 200 ชิ้น ๆ ละ 110 บาท เป็นเงิน 22,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลทันตสุขภาพของตนเองของผู้สูงอายุและผุ้นำทางศาสนา จำนวน 200 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000บาท
- ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1*2 เมตร ๆ ละ 350 บาท จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 700บาท เป็นเงิน 700 บาท
งบประมาณ 35,700.00 บาท - 5. ออกตรวจสุขภาพช่องปากผู้ป่วยติดเตียง และทำความสะอาดช่องปาก พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและการกินอาหารสำหรับผู้ป่วยติดเตียงให้กับผู้ดูแลรายละเอียด
ค่าวัสดุดูแลทำความสะอาดช่องปาก จำนวน 13 ชิ้น ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท
งบประมาณ 1,300.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ในเขตพื้นที่ตำบลดุซงญอ
รวมงบประมาณโครงการ 60,100.00 บาท
- หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและเช็ดทำความสะอาดช่องปากบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- โรคฟันผุในเด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียน และผู้สูงอายุมีฟันที่ใช้งานได้ มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
- ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้วิธีการดูแลฟันปลอมและใช้ฟันปลอมได้อย่างถูกต้องการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธี
- แกนนำอสม.และแม่อาสา มีความรูัเรื่องการดูแบสุขภาพช่องปาก สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรูัถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ รหัส กปท. L2476
อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ รหัส กปท. L2476
อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................